From this page you can:
Home |
Author details
Author เวชรัชต์พิมล กุลพิชณาย์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesประสิทธิผลของการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย / กุลพิชณาย์ เวชรัชต์พิมล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ประสิทธิผลของการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย : สำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ Original title : Effectiveness of a development of the end of life care training program for nursing students of Saint Louis College Material Type: printed text Authors: กุลพิชณาย์ เวชรัชต์พิมล, Author ; สุดารัตน์ สุวารี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.82-90 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.82-90Keywords: การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม.นักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์.End of life care. Nursing students.Saint Louis College. Abstract: เป็นการวิจับกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อ 1.พัฒนาหลักสูตรอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซ่นต์หลุยส์ 2.ประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซนต์หลุยส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2556 คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย หลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซ่นต์หลุยส์ประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่ 1)การดูแลชีวิตและการตาย 2) การดูแลเมื่อความตายมาถึง 3)การดูแลหลังการสูญเสีย และ 4)การดูแลด้านจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วยแบบวัดความรู้ แบบวัดทักษะ และแบบวัดเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดย Paired samples t-test และ T-test one sample group เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ผลการ
วิจัย พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยวัดความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองมีค่าสูงกว่าก่อนการทดลองและไม่แตกต่างจากเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะการร่วมกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับดีและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าเฉลี่ยเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลโดยรวมหลังการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001
ข้อเสนอแนะผู้บริหารหลักสูตรควรปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ ควรปรับเพิ่มรายวิชา หรือหัวข้อด้านการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย และสนับสนุนให้มีการนำหลักการแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27216 [article] ประสิทธิผลของการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย = Effectiveness of a development of the end of life care training program for nursing students of Saint Louis College : สำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์ [printed text] / กุลพิชณาย์ เวชรัชต์พิมล, Author ; สุดารัตน์ สุวารี, Author . - 2017 . - p.82-90.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.82-90Keywords: การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย.การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม.นักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซนต์หลุยส์.End of life care. Nursing students.Saint Louis College. Abstract: เป็นการวิจับกึ่งทดลอง วัตถุประสงค์เพื่อ 1.พัฒนาหลักสูตรอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซ่นต์หลุยส์ 2.ประเมินประสิทธิผลของหลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลเซนต์หลุยส์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2556 คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย หลักสูตรฝึกอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสำหรับนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยเซ่นต์หลุยส์ประกอบด้วย 4 หน่วย ได้แก่ 1)การดูแลชีวิตและการตาย 2) การดูแลเมื่อความตายมาถึง 3)การดูแลหลังการสูญเสีย และ 4)การดูแลด้านจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ประกอบด้วยแบบวัดความรู้ แบบวัดทักษะ และแบบวัดเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดย Paired samples t-test และ T-test one sample group เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ผลการ
วิจัย พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยวัดความรู้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองมีค่าสูงกว่าก่อนการทดลองและไม่แตกต่างจากเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าคะแนนเฉลี่ยทักษะการร่วมกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับดีและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001 และค่าเฉลี่ยเจตคติต่อการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของนักศึกษาพยาบาลโดยรวมหลังการฝึกอบรมอยู่ในระดับมากและสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0001
ข้อเสนอแนะผู้บริหารหลักสูตรควรปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาด้านพยาบาลศาสตร์ ควรปรับเพิ่มรายวิชา หรือหัวข้อด้านการดูแลผู้ป่วยระยุสุดท้าย และสนับสนุนให้มีการนำหลักการแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติอย่างต่อเนื่องLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27216