Collection Title: | SIU IS-T | Title : | การสื่อสารกับสาธารณชนเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรค ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย | Original title : | Communication with Segments of the Public about Problems and Barriers in Disseminating Social News and Information by Digital TV Stations in Thailand | Material Type: | printed text | Authors: | ดลยา วิโรจน์วรรธนะ, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2017 | Pagination: | viii, 40 น. | Layout: | ภาพประกอบ, ตาราง | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 | General note: | SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-02
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017. | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]ข่าว -- การนำเสนอ [LCSH]ผู้สื่อข่าว [LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ไทย
| Keywords: | ข่าวสังคม,
ผู้สื่อข่าวสายสังคม,
สถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย | Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย 2) เพื่อเผยแพร่ปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทยแก่สาธารณชน 3) เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้สื่อข่าวสังคมของแต่ละสถานีที่มีต่อปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สื่อข่าวอาวุโส และผู้สื่อข่าวสายสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอล 3 สถานี ตามประเภทช่อง ได้แก่ ประเภทรายการทั่วไป ภาพคมชัดสูง (HD), ประเภทรายการข่าวสาร และสาระ (SD) และประเภทบริการสาธารณะ ประเภท 1 สถานี จำนวน 18 คน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย มีเวลาในการทำข่าวจำกัด จึงต้องลงพื้นที่ทำงานแข่งกับเวลา และแข่งกับสื่อออนไลน์ที่เข้าถึงสาธารณชนได้รวดเร็วกว่า ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น มือถือ ขณะที่การทำข่าวสังคมเป็นประเภทข่าวที่มีเนื้อหาใกล้ตัวประชาชนมากกว่าข่าวประเภทอื่น ในกระบวนการผลิตจึงต้องอาศัยข้อมูลหลากหลายด้าน เพื่อนำข้อมูลเหล่านั้นมาเรียบเรียง เพื่อตอบโจทย์ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาของสังคม นอกจากนี้ ยังพบว่า นโยบายของสถานียังส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตข่าวก่อนออกเผยแพร่สู่สาธารณชนด้วย
| Curricular : | BALA/MTEIL | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27200 |
SIU IS-T. การสื่อสารกับสาธารณชนเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรค ในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย = Communication with Segments of the Public about Problems and Barriers in Disseminating Social News and Information by Digital TV Stations in Thailand [printed text] / ดลยา วิโรจน์วรรธนะ, Author ; ปาลพล รอดลอยทุกข์, Associated Name ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 40 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม. 500.00 SIU IS-T: SOLA-MAMIC-2017-02
Independent Study [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017. Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]ข่าว -- การนำเสนอ [LCSH]ผู้สื่อข่าว [LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ไทย
| Keywords: | ข่าวสังคม,
ผู้สื่อข่าวสายสังคม,
สถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย | Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง 1) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย 2) เพื่อเผยแพร่ปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทยแก่สาธารณชน 3) เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้สื่อข่าวสังคมของแต่ละสถานีที่มีต่อปัญหาและอุปสรรคในการนำเสนอข่าวสังคม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สื่อข่าวอาวุโส และผู้สื่อข่าวสายสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอล 3 สถานี ตามประเภทช่อง ได้แก่ ประเภทรายการทั่วไป ภาพคมชัดสูง (HD), ประเภทรายการข่าวสาร และสาระ (SD) และประเภทบริการสาธารณะ ประเภท 1 สถานี จำนวน 18 คน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage)
ผลการวิจัย พบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสังคมของสถานีโทรทัศน์ระบบดิจิตอลในประเทศไทย มีเวลาในการทำข่าวจำกัด จึงต้องลงพื้นที่ทำงานแข่งกับเวลา และแข่งกับสื่อออนไลน์ที่เข้าถึงสาธารณชนได้รวดเร็วกว่า ผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น มือถือ ขณะที่การทำข่าวสังคมเป็นประเภทข่าวที่มีเนื้อหาใกล้ตัวประชาชนมากกว่าข่าวประเภทอื่น ในกระบวนการผลิตจึงต้องอาศัยข้อมูลหลากหลายด้าน เพื่อนำข้อมูลเหล่านั้นมาเรียบเรียง เพื่อตอบโจทย์ปัญหา และวิธีแก้ไขปัญหาของสังคม นอกจากนี้ ยังพบว่า นโยบายของสถานียังส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิตข่าวก่อนออกเผยแพร่สู่สาธารณชนด้วย
| Curricular : | BALA/MTEIL | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27200 |
|