From this page you can:
Home |
วารสารพยาบาลสาธารณสุข / สมาคมพยาบาลสาธารณสุขไทย มหาวิทยาลัยมหิดล . Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559Published date : 02/08/2017 |
Available articles
Add the result to your basketปััจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลาง / นฤมล เอื้อมณีกุล in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ปััจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลาง Original title : Factor influencing research competency among public health in central region Thailand Material Type: printed text Authors: นฤมล เอื้อมณีกุล, Author ; สุรินธร กลัมพากร, Author ; วันเพ็ญ แก้วปาน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-15 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.1-15Keywords: สมรรถนะด้านการวิจัย.ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบริ์ก.พยาบาลสาธารณสุข. Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบหาความสัมพันธ์ วัตถุุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลาง กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตภาคกลาง และมีประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 362 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง ตรวจสอบความแม่นตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 วิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถามโดยรวม มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบราคเท่ากับ 0.871 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านความรู้เกี่ยวกับการวิจัยได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.767 ปัจจัยจูงใจเท่ากับ 0.872 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (stepwise regression analysis)
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุการทำงานเฉลี่ย 15.25 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาประกาศนียบัตรการพยาบาลเฉพาะทางเวชปฏิบัติทั่วไป ร้อยละ 63.46 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการทำวิจัย และไม่เคยมีประสบการณ์ในการนำเสนองานวิจัยร้อยละ 61.6 และ 91.16 ตามลำดับ ทั้งนี้ยังพบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีความสนใจที่จะทำวิจัยถึงร้อยละ 79.01 อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างประเมินว่า มีสมรรถนะด้านการวิจัยอยู่ในระดับกลาง ค่าเฉลี่ย คือ 54.94 SD เท่ากัย 9.38 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยสูงที่สุด ค่าเฉลี่ย คือ 3.05 SD เท่ากับ 0.65 และสมรรถนะด้านความสามารถในการทำวิจัยต้ำสุด คือ ค่าเฉลี่ย 2.68 SD เท่ากับ 0.45 โดยปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน พบว่า ความรู้เกี่ยวกับการวิจัน ความรับผิดชอบ ประสบการณ์ในการนำเสนอผลงานวิจัย ความสนใจที่จะทำงานวิจัย และงบประมาณสนับสนุนการทำวิจัยกับค่าตอบแทนจากการทำวิจัย สามารถร่วมพยากรณ์สมรรถนะดเานการวิจัยของพยาบาลความสุขได้ร้อยละ 55.3
ผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะในการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขให้ดีขึ้น โดยผู้บริหาร หรือผู้บังคับบัญชาหน่วยงานควรกำหนดเป็นแผนงาน หรือนโยบายให้บุคลากรได้รับความรู้เกี่ยวกับการวิจัย และส่งเสริมให้ทำผลงานวิจัยในหน่วยงนอย่างต่อเนื่อง ให้การสนับสนุนจัดสรรงบประมาณ หรือจัดหาทุนวิจัย รวมทั้งมีค่าตอบแทนจากการทำวิจัยให้แก่พยาบาลสาธารณสุข เพื่อช่วยเพิ้มพูนสมรรถนะด้านการวิจัยให้แก่พยาบาลสาธารณสุขCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26519 [article] ปััจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลาง = Factor influencing research competency among public health in central region Thailand [printed text] / นฤมล เอื้อมณีกุล, Author ; สุรินธร กลัมพากร, Author ; วันเพ็ญ แก้วปาน, Author . - 2017 . - p.1-15.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.1-15Keywords: สมรรถนะด้านการวิจัย.ทฤษฎีสองปัจจัยของเฮอร์ซเบริ์ก.พยาบาลสาธารณสุข. Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบหาความสัมพันธ์ วัตถุุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลาง กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิในเขตภาคกลาง และมีประสบการณ์ทำงานอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 362 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามด้วยตนเอง ตรวจสอบความแม่นตรงเชิงเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน มีค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 วิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถามโดยรวม มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบราคเท่ากับ 0.871 ปัจจัยส่วนบุคคลด้านความรู้เกี่ยวกับการวิจัยได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.767 ปัจจัยจูงใจเท่ากับ 0.872 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (stepwise regression analysis)
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุการทำงานเฉลี่ย 15.25 ปี ส่วนใหญ่จบการศึกษาประกาศนียบัตรการพยาบาลเฉพาะทางเวชปฏิบัติทั่วไป ร้อยละ 63.46 กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์ในการทำวิจัย และไม่เคยมีประสบการณ์ในการนำเสนองานวิจัยร้อยละ 61.6 และ 91.16 ตามลำดับ ทั้งนี้ยังพบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีความสนใจที่จะทำวิจัยถึงร้อยละ 79.01 อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างประเมินว่า มีสมรรถนะด้านการวิจัยอยู่ในระดับกลาง ค่าเฉลี่ย คือ 54.94 SD เท่ากัย 9.38 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยสูงที่สุด ค่าเฉลี่ย คือ 3.05 SD เท่ากับ 0.65 และสมรรถนะด้านความสามารถในการทำวิจัยต้ำสุด คือ ค่าเฉลี่ย 2.68 SD เท่ากับ 0.45 โดยปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขในเขตภาคกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน พบว่า ความรู้เกี่ยวกับการวิจัน ความรับผิดชอบ ประสบการณ์ในการนำเสนอผลงานวิจัย ความสนใจที่จะทำงานวิจัย และงบประมาณสนับสนุนการทำวิจัยกับค่าตอบแทนจากการทำวิจัย สามารถร่วมพยากรณ์สมรรถนะดเานการวิจัยของพยาบาลความสุขได้ร้อยละ 55.3
ผลการวิจัยมีข้อเสนอแนะในการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการวิจัยของพยาบาลสาธารณสุขให้ดีขึ้น โดยผู้บริหาร หรือผู้บังคับบัญชาหน่วยงานควรกำหนดเป็นแผนงาน หรือนโยบายให้บุคลากรได้รับความรู้เกี่ยวกับการวิจัย และส่งเสริมให้ทำผลงานวิจัยในหน่วยงนอย่างต่อเนื่อง ให้การสนับสนุนจัดสรรงบประมาณ หรือจัดหาทุนวิจัย รวมทั้งมีค่าตอบแทนจากการทำวิจัยให้แก่พยาบาลสาธารณสุข เพื่อช่วยเพิ้มพูนสมรรถนะด้านการวิจัยให้แก่พยาบาลสาธารณสุขCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26519 ความต้องการการได้รับการช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติก / สุพัตรา จันทร์สุวรรณ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ความต้องการการได้รับการช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติก Original title : The needs of Autistics' mother for helping support of children with autism Material Type: printed text Authors: สุพัตรา จันทร์สุวรรณ, Author ; สุนทรีย์ ขะชาตย์, Author ; ปวิตา โพธิ์ทอง, Author ; เสาวลักษณ์ แสนฉลาด, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.16-25 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.16-25Keywords: ความต้องการของมารดาเด็กออทิสติก.แนวทางการได้รับการช่วยเหลือ Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความต้องการการได้รับความช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติก กลุ่มตัวอย่าง คือมารดาเด็กออทิสติกที่นำบุตรมาเข้ารับการฝึก ณ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 5 จังหวัดสุพรรณบุรี เลือกการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงที่เป็นมารดาของเด็กออทิสติกและให้การดูแลเด็กออทิสติกอย่างน้อยวันละ 6 ขั่วโมง จำนวน 10 ราย การเก็ลรวบรวมข้อมูลโดยการใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นเครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยใช้แนวคิดเรื่องของความต้องการของ ฺBrewin (2001) ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง ความเที่ยงตรงของเนื้อหาของเครื่องมือได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ การวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์ทำการวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ประเด็นความต้องการการได้รับความช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติกประกอบด้วย 4 ประเด็น คือ
ประเด็นที่หนึ่ง คือ ความต้องการให้เด็กช่วยเหลือตัวเองได้ในอนาคต
ประเด็นที่สอง คือ ความต้องการให้เด็กมีสถานที่ดูแลตลอดชีวิต
ประเด็นที่สาม คือ ความต้องการได้รับการสนับสนุนจากสังคม และ
ประเด็นที่สี่ คือ ความต้องการได้รับกำลังใจจากครอบครัวCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26520 [article] ความต้องการการได้รับการช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติก = The needs of Autistics' mother for helping support of children with autism [printed text] / สุพัตรา จันทร์สุวรรณ, Author ; สุนทรีย์ ขะชาตย์, Author ; ปวิตา โพธิ์ทอง, Author ; เสาวลักษณ์ แสนฉลาด, Author . - 2017 . - p.16-25.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.16-25Keywords: ความต้องการของมารดาเด็กออทิสติก.แนวทางการได้รับการช่วยเหลือ Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาความต้องการการได้รับความช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติก กลุ่มตัวอย่าง คือมารดาเด็กออทิสติกที่นำบุตรมาเข้ารับการฝึก ณ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 5 จังหวัดสุพรรณบุรี เลือกการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงที่เป็นมารดาของเด็กออทิสติกและให้การดูแลเด็กออทิสติกอย่างน้อยวันละ 6 ขั่วโมง จำนวน 10 ราย การเก็ลรวบรวมข้อมูลโดยการใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นเครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยใช้แนวคิดเรื่องของความต้องการของ ฺBrewin (2001) ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง ความเที่ยงตรงของเนื้อหาของเครื่องมือได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ การวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และข้อมูลเชิงคุณภาพที่ได้จากการสัมภาษณ์ทำการวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษาครั้งนี้ พบว่า ประเด็นความต้องการการได้รับความช่วยเหลือของมารดาเด็กออทิสติกประกอบด้วย 4 ประเด็น คือ
ประเด็นที่หนึ่ง คือ ความต้องการให้เด็กช่วยเหลือตัวเองได้ในอนาคต
ประเด็นที่สอง คือ ความต้องการให้เด็กมีสถานที่ดูแลตลอดชีวิต
ประเด็นที่สาม คือ ความต้องการได้รับการสนับสนุนจากสังคม และ
ประเด็นที่สี่ คือ ความต้องการได้รับกำลังใจจากครอบครัวCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26520 ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภขนาการเกิน ในเขตเทศบาลเมือลพบุรี จังหวัดลพบุรี / อัญชนา สุขอนนท์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภขนาการเกิน ในเขตเทศบาลเมือลพบุรี จังหวัดลพบุรี Original title : The effects of perceived self-efficacy promoting program on weight control behviors among overweight children in municipality meaung Lopburi, Lopburi province Material Type: printed text Authors: อัญชนา สุขอนนท์, Author ; สมสมัย รัตนกรีฑากุล, Author ; นิสากร กรุงไกรเพชร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.26-40 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.26-40Keywords: โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง.พฤติกรรมการควบคมน้ำหนัก.นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน. Abstract: การวิจัยกุึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในเขตเทศบาลเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงมากกว่า 2 เท่า ของความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (>+2 SD) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างง่าย จำนวน 50 คน เป็นกลุ่มทดลอง 25 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 25 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ประกอบด้วย กิจกรรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการเคลื่อนไหวร่างกาย บันทึกพฤติกรรมลงในคู่มือการปฏิบัติเพื่อการควบคุมน้ำหนัก ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบได้รับความรู้ในการปฏิบัติตนตามปกติ เก็บรวบรวบข้อมูลโดยผู้วิจัย ด้วยแบบสอบถามพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก และชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบคาที
ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยผลต่างคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกาย และน้ำหนักตัวมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value=0.001 และ 0.003 ตามลำดับ ผลการศึกษาสนับสนุนผลของการประยุกต์ทฤษฎีการรับรูู้ความสามารถของตนเองต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักส่งผลให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการเกิน มีน้ำหนักลดลงได้ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและบุคลากรสาธารณสุข สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับพฤติกรรมเพื่อการควบคุมน้ำหนักในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในโรงเรียนอื่น ๆ และในชุมชนได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26521 [article] ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภขนาการเกิน ในเขตเทศบาลเมือลพบุรี จังหวัดลพบุรี = The effects of perceived self-efficacy promoting program on weight control behviors among overweight children in municipality meaung Lopburi, Lopburi province [printed text] / อัญชนา สุขอนนท์, Author ; สมสมัย รัตนกรีฑากุล, Author ; นิสากร กรุงไกรเพชร, Author . - 2017 . - p.26-40.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.26-40Keywords: โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเอง.พฤติกรรมการควบคมน้ำหนัก.นักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน. Abstract: การวิจัยกุึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในเขตเทศบาลเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี ที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ ส่วนสูงมากกว่า 2 เท่า ของความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (>+2 SD) คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างง่าย จำนวน 50 คน เป็นกลุ่มทดลอง 25 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 25 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก เป็นเวลา 6 สัปดาห์ ประกอบด้วย กิจกรรมการส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการเคลื่อนไหวร่างกาย บันทึกพฤติกรรมลงในคู่มือการปฏิบัติเพื่อการควบคุมน้ำหนัก ในขณะที่กลุ่มเปรียบเทียบได้รับความรู้ในการปฏิบัติตนตามปกติ เก็บรวบรวบข้อมูลโดยผู้วิจัย ด้วยแบบสอบถามพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนัก และชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบคาที
ผลการศึกษา พบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยผลต่างคะแนนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการเคลื่อนไหวร่างกาย และน้ำหนักตัวมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p-value=0.001 และ 0.003 ตามลำดับ ผลการศึกษาสนับสนุนผลของการประยุกต์ทฤษฎีการรับรูู้ความสามารถของตนเองต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักส่งผลให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการเกิน มีน้ำหนักลดลงได้ ข้อเสนอแนะจากการวิจัย พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและบุคลากรสาธารณสุข สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปรับพฤติกรรมเพื่อการควบคุมน้ำหนักในนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกินในโรงเรียนอื่น ๆ และในชุมชนได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26521 ผลของโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื้มแอลกอฮออล์ของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย อำเภอบ่อทองจังหวัดชลบุรี / อโนทัย ฟุุ้งขจร in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื้มแอลกอฮออล์ของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย อำเภอบ่อทองจังหวัดชลบุรี Original title : Effects of self-efficacy enhancement on perceived self -efficacy outcome expectancy and alcohol drinking refusal late secondary school students in bothong district Chonburi province Material Type: printed text Authors: อโนทัย ฟุุ้งขจร, Author ; ยุวดี รอดจากภัย, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.41-54 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.41-54Keywords: โปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตน.การรับรู้ความสามารถตนเอง.ความคาดหวังในผลลัพธ์.การหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. Abstract: เครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง คนที่ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมาก จะทำให้มีนเมา หมดสติและอาจตายได้ นักเรียนและวัยรุ่นมีการดื้มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประมาณ 20 % และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น การวิจัยนี้จึงต้องการศึกษาผลของโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยม กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 60 คน จากโรงเรียนแห่งหนึ่งในอำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี สุ่มด้วยการจับสลากมา 2 ห้อง และสุ่มเข้ากลุ่มด้วยการจับสลากให้เป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง มีนักเรียน 30 คน ในเต่ละกลุ่ม เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามส่งให้ตอบในห้องเรียนก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง ซึ่งส่วนที่วัดการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีความเที่ยงแบบอัลฟ่า 0.94 0.89 และ 0.85 ตามลำดับ นักเรียนกลุ่มทดลองให้โปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตน 6 สัปดาห์ ๆ ละ 50 นาที ดำเนินกิจกรรมโดยผู้วิจัยและู้ช่วยสอน สำหรับนักเรียนกลุ่มเปรีบเทียบเรียนตามปกติ ข้อมูลวิเคราะห์ต้วยร้อยละ คะแนนเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน paired t-test และ independent t-test ผลการวิจัย พบว่า
หลักงการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มมากขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.001 และหลังการทดลอง นักเรีนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากกว่านักเรียนกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.001 แสดงว่าโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนที่สร้างขึ้นให้ผลดีม่ส่วนทำให้นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมมีพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดีขึ้น ดังนั้นจึงควรสนับสนุนให้อาจารย์นำโปรแกรมนี้ไปใช้สอนนักเรียนในระดัยมัธยมศึกษาตอนปลายต่อไปCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26522 [article] ผลของโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื้มแอลกอฮออล์ของนักเรียนชั้นมัธยมปลาย อำเภอบ่อทองจังหวัดชลบุรี = Effects of self-efficacy enhancement on perceived self -efficacy outcome expectancy and alcohol drinking refusal late secondary school students in bothong district Chonburi province [printed text] / อโนทัย ฟุุ้งขจร, Author ; ยุวดี รอดจากภัย, Author . - 2017 . - p.41-54.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.41-54Keywords: โปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตน.การรับรู้ความสามารถตนเอง.ความคาดหวังในผลลัพธ์.การหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์.นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. Abstract: เครื่องดื่มแอลกอฮอล์มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง คนที่ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมาก จะทำให้มีนเมา หมดสติและอาจตายได้ นักเรียนและวัยรุ่นมีการดื้มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประมาณ 20 % และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น การวิจัยนี้จึงต้องการศึกษาผลของโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนต่อการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ของนักเรียนมัธยม กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 60 คน จากโรงเรียนแห่งหนึ่งในอำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี สุ่มด้วยการจับสลากมา 2 ห้อง และสุ่มเข้ากลุ่มด้วยการจับสลากให้เป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง มีนักเรียน 30 คน ในเต่ละกลุ่ม เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามส่งให้ตอบในห้องเรียนก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง ซึ่งส่วนที่วัดการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ มีความเที่ยงแบบอัลฟ่า 0.94 0.89 และ 0.85 ตามลำดับ นักเรียนกลุ่มทดลองให้โปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตน 6 สัปดาห์ ๆ ละ 50 นาที ดำเนินกิจกรรมโดยผู้วิจัยและู้ช่วยสอน สำหรับนักเรียนกลุ่มเปรีบเทียบเรียนตามปกติ ข้อมูลวิเคราะห์ต้วยร้อยละ คะแนนเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน paired t-test และ independent t-test ผลการวิจัย พบว่า
หลักงการทดลอง นักเรียนกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลลัพธ์ และพฤติกรรมหลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์เพิ่มมากขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.001 และหลังการทดลอง นักเรีนกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากกว่านักเรียนกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญที่ 0.001 แสดงว่าโปรแกรมสร้างเสริมสมรรถนะแห่งตนที่สร้างขึ้นให้ผลดีม่ส่วนทำให้นักเรียนที่ได้รับโปรแกรมมีพฤติกรรมการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ดีขึ้น ดังนั้นจึงควรสนับสนุนให้อาจารย์นำโปรแกรมนี้ไปใช้สอนนักเรียนในระดัยมัธยมศึกษาตอนปลายต่อไปCurricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26522 ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฟาฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น / อาภาพร เผ่าวัฒนา in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฟาฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น Original title : The effect of computer assist instruction with application of the transtheoretical model on risky sexual behavioral among adolescents Material Type: printed text Authors: อาภาพร เผ่าวัฒนา, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.55-61 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.55-61Keywords: ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ.ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม.วัยรุ่นตอนต้น Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอว เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมความเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 โรงเรียน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 30 คน ระยะเวลาในการศึกษา 6 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน independent t-test และ paired t-test
ผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสมดุลการตัดสินใจ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ สูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001)Curricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26523 [article] ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฟาฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น = The effect of computer assist instruction with application of the transtheoretical model on risky sexual behavioral among adolescents [printed text] / อาภาพร เผ่าวัฒนา, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author . - 2017 . - p.55-61.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.55-61Keywords: ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ.ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม.วัยรุ่นตอนต้น Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอว เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมความเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 โรงเรียน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 30 คน ระยะเวลาในการศึกษา 6 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน independent t-test และ paired t-test
ผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสมดุลการตัดสินใจ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ สูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001)Curricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26523 พฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานจองแรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานคร / ศิริวรรณ รื่นบรรเทิง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : พฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานจองแรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Preventive behaviors of work related respiratory problem among railway construction workers in Bangkok Material Type: printed text Authors: ศิริวรรณ รื่นบรรเทิง, Author ; สุรินธร กลัมพากร, Author ; แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.71-83 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.71-83Keywords: แรงงานก่อสร้างระบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน.พฤติกรรมการป้องกัน.ปัญหาระบบทางเดินหายใจ Abstract: แรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน มีโอกาสได้รับสิ่งคุกคามทางสุขภาพระบบทางเดินหายใจ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานของแรงงานก่อสร้างระบบไฟฟ้าขนส่งมวลชน ตามกรอบแนวคิด Precede proceeded framework กลุ่มตัวอย่างเป็นแรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 225 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สิถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวน สัมประสิทะิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการถดถอยพหุคูฯแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 54.7 และ พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจ อย้างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ประวัติการสูบบุหรี การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ประโยขน์ การรับรู้อุปสรรค การเข้าถึงแหล่งทรัพยากร
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26524 [article] พฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานจองแรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในเขตกรุงเทพมหานคร = Preventive behaviors of work related respiratory problem among railway construction workers in Bangkok [printed text] / ศิริวรรณ รื่นบรรเทิง, Author ; สุรินธร กลัมพากร, Author ; แอนน์ จิระพงษ์สุวรรณ, Author . - 2017 . - p.71-83.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.71-83Keywords: แรงงานก่อสร้างระบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน.พฤติกรรมการป้องกัน.ปัญหาระบบทางเดินหายใจ Abstract: แรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน มีโอกาสได้รับสิ่งคุกคามทางสุขภาพระบบทางเดินหายใจ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานของแรงงานก่อสร้างระบบไฟฟ้าขนส่งมวลชน ตามกรอบแนวคิด Precede proceeded framework กลุ่มตัวอย่างเป็นแรงงานก่อสร้างระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานคร จำนวน 225 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา สิถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวน สัมประสิทะิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการถดถอยพหุคูฯแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจจากการทำงานโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 54.7 และ พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันปัญหาระบบทางเดินหายใจ อย้างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ประวัติการสูบบุหรี การรับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ประโยขน์ การรับรู้อุปสรรค การเข้าถึงแหล่งทรัพยากร
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26524 การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง / สุปรีดา มั่นคง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 [article] การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2017 . - p.84-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 โปรแกรมการป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 / อ้อ พรมดี in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : โปรแกรมการป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 : ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ Original title : Chronic kidney disease preventing program among uncontrolled diabetic patients Material Type: printed text Authors: อ้อ พรมดี, Author ; วีณา เที่ยงธรรม, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.102-117 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.102-117Keywords: ผู่ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. การป้องกันภาวะไตวายเรื้อรัง. ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรค.แรงสนับสนุนทางสังคม. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้
กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยอายุระหว่าง 40-60 ปี ที่มาตรวจรักษาที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวนกลุ่มละ 30 คน ทดลองระยะเวลา 2 สัปดาห์
เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถามในระยะก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง และระยะติดตามผล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความรุนแรงของภาวะไตวายเรื้อรังดีขึ้นกว่ากลุ่มการทดลอง และดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ (p-value<0.05)
ข้อเสนอแนะ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวร่วมกับการให้แรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลในครอบครัว สามารถทำให้ผูัป่วยมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดภาวะไตวายเรื้อรังดีขึ้น ซึ่งสามารถนำไปปประยุกต์ใช้กับประชาชนที่มีลักษณะใกล้เคียงกันได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26873 [article] โปรแกรมการป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 = Chronic kidney disease preventing program among uncontrolled diabetic patients : ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ [printed text] / อ้อ พรมดี, Author ; วีณา เที่ยงธรรม, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.102-117.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.102-117Keywords: ผู่ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. การป้องกันภาวะไตวายเรื้อรัง. ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรค.แรงสนับสนุนทางสังคม. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้
กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยอายุระหว่าง 40-60 ปี ที่มาตรวจรักษาที่คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวนกลุ่มละ 30 คน ทดลองระยะเวลา 2 สัปดาห์
เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถามในระยะก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง และระยะติดตามผล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความรุนแรงของภาวะไตวายเรื้อรังดีขึ้นกว่ากลุ่มการทดลอง และดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ (p-value<0.05)
ข้อเสนอแนะ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวร่วมกับการให้แรงสนับสนุนทางสังคมจากบุคคลในครอบครัว สามารถทำให้ผูัป่วยมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดภาวะไตวายเรื้อรังดีขึ้น ซึ่งสามารถนำไปปประยุกต์ใช้กับประชาชนที่มีลักษณะใกล้เคียงกันได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26873 ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยินในพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม / อริสรา ฤทธิ์งาม in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยินในพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม : แปรรูปยางธรรมชาติ จังหวัดระยอง Original title : Related factors of hearing loss among nutural rubber processing industry workers in Rayong Material Type: printed text Authors: อริสรา ฤทธิ์งาม, Author ; เจนจิรา เจริญการไกร, Author ; สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ, Author ; จันทร์ทิพย์ อินทวงศ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.118-131 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.118-131Keywords: การสูญเสียการได้ยิน.การตรวจสอบสมรรถภาพการได้ยิน.โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปยางธรรมชาติ. Abstract: เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของการสูญเสียการได้ยินในพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปยางธรรมชาติ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคล ด้านงาน และสิ่งแวดล้อมกับการสูญเสียการได้ยิน
กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานที่สัมผัสเสียงดัังในโรงงานอุตสาหรรมแปรรูปยางธรรมชาติ จำนวน 105 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยิน แบบบันทึกข้อมูลการสำรวจและการตรวจวัดระดับเสียง 2)แบบเครื่องมือวัด ประกอบด้วย เครื่องมือตรวจสมรรถภาพการได้ยิน และเครื่องตรวจวัดระดับเสียง
ผลการศึกษาพบว่า พนักงานโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปยางธรรมชาติ มีความชุกของการสูญเสียการได้ยิน ร้อยละ 60 และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูญสียการได้ยินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ (ค่าเฉลี่ย 4.39 p-value<0.001) พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงดัง (ค่าเฉลี่ย 4.6 p-value<0.05)และอายุการทำงาน (ค่าเฉลี่ย 4.69 p-value<0.001)Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26874 [article] ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยินในพนักงานโรงงานอุตสาหกรรม = Related factors of hearing loss among nutural rubber processing industry workers in Rayong : แปรรูปยางธรรมชาติ จังหวัดระยอง [printed text] / อริสรา ฤทธิ์งาม, Author ; เจนจิรา เจริญการไกร, Author ; สุวรรณา จันทร์ประเสริฐ, Author ; จันทร์ทิพย์ อินทวงศ์, Author . - 2017 . - p.118-131.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.118-131Keywords: การสูญเสียการได้ยิน.การตรวจสอบสมรรถภาพการได้ยิน.โรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปยางธรรมชาติ. Abstract: เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกของการสูญเสียการได้ยินในพนักงานโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปยางธรรมชาติ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านบุคคล ด้านงาน และสิ่งแวดล้อมกับการสูญเสียการได้ยิน
กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานที่สัมผัสเสียงดัังในโรงงานอุตสาหรรมแปรรูปยางธรรมชาติ จำนวน 105 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แบบเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการสูญเสียการได้ยิน แบบบันทึกข้อมูลการสำรวจและการตรวจวัดระดับเสียง 2)แบบเครื่องมือวัด ประกอบด้วย เครื่องมือตรวจสมรรถภาพการได้ยิน และเครื่องตรวจวัดระดับเสียง
ผลการศึกษาพบว่า พนักงานโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปยางธรรมชาติ มีความชุกของการสูญเสียการได้ยิน ร้อยละ 60 และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการสูญสียการได้ยินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ (ค่าเฉลี่ย 4.39 p-value<0.001) พฤติกรรมการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียงดัง (ค่าเฉลี่ย 4.6 p-value<0.05)และอายุการทำงาน (ค่าเฉลี่ย 4.69 p-value<0.001)Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26874 ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ในการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข / จันทิมา เหล็กไหล in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ในการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข : ประจำหมู่บ้านในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก Original title : Factor influencing the role of the participation in village health volunteers for the prevention and control of dengue hemorrhagic fever Material Type: printed text Authors: จันทิมา เหล็กไหล, Author ; ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.132-144 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.132-144Keywords: โรคไข้เลือดออก.อสม.ประจำหมู่บ้านการมีส่วนร่วม.ตำบลธรรมามูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วม และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม.ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ตำบลธรรมมูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท จำนวน 142 คน กลุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นด้านความรู้ การรับรู้ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม และการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเท่ากัย .797 .782 .765 .878 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการถดถอยแบบพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วใมนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 2.65 ค่าเลี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33)โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์มากที่สุด และคะแนนการมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาน้อยที่สุด สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม. ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญ คือ ปัจจัยการได้รับแรงสนับสนุนจากเพื่อร่วมงาน ปัจจัยการได้รับข้อมุลข่าวาสาร ปัจจัยการกำหนดบทลงโทษ ปัจจัยตำแหน่งทางสังคม ปัจจัยความพอเพียงของทรัพยากร และปัจจัยการรับรู้ ซึ่งปัจจัยทั้ง 6 ด้าน สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ร้อยละ 59.2 (R ยกกำลังสอง =0.592 F=32.65 p-value<0.01)
ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้อง
ต้องดำเนินการยกระดับการมีส่วนร่วให้มีประสิทธธิภาพ
ต้องส่งเสริมให้ผู้ที่มีตำแหน่งในชุมชนเป็นผู้นำในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านทรัพยากร เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ประจำหมู้บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อไป
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26875 [article] ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ในการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข = Factor influencing the role of the participation in village health volunteers for the prevention and control of dengue hemorrhagic fever : ประจำหมู่บ้านในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก [printed text] / จันทิมา เหล็กไหล, Author ; ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, Author . - 2017 . - p.132-144.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.132-144Keywords: โรคไข้เลือดออก.อสม.ประจำหมู่บ้านการมีส่วนร่วม.ตำบลธรรมามูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วม และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม.ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ตำบลธรรมมูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท จำนวน 142 คน กลุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นด้านความรู้ การรับรู้ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม และการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเท่ากัย .797 .782 .765 .878 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการถดถอยแบบพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วใมนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 2.65 ค่าเลี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33)โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์มากที่สุด และคะแนนการมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาน้อยที่สุด สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม. ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญ คือ ปัจจัยการได้รับแรงสนับสนุนจากเพื่อร่วมงาน ปัจจัยการได้รับข้อมุลข่าวาสาร ปัจจัยการกำหนดบทลงโทษ ปัจจัยตำแหน่งทางสังคม ปัจจัยความพอเพียงของทรัพยากร และปัจจัยการรับรู้ ซึ่งปัจจัยทั้ง 6 ด้าน สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ร้อยละ 59.2 (R ยกกำลังสอง =0.592 F=32.65 p-value<0.01)
ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้อง
ต้องดำเนินการยกระดับการมีส่วนร่วให้มีประสิทธธิภาพ
ต้องส่งเสริมให้ผู้ที่มีตำแหน่งในชุมชนเป็นผู้นำในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านทรัพยากร เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ประจำหมู้บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อไป
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26875 การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน : บทบาทพยาบาล Original title : Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses Material Type: printed text Authors: รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.145-155 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.145-155Keywords: ผู้ป่วยเบาหวาน.การจัดการแผลที่เท้า.การประเมินความเสี่ยง.บทบาทพยาบาล. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26876 [article] การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน = Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses : บทบาทพยาบาล [printed text] / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author . - 2017 . - p.145-155.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเกินเกณฑ์ขณะตั้งครรภ์ บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลผดุงครรภ์ / สุพิศ ศิริอรุณรัตน์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเกินเกณฑ์ขณะตั้งครรภ์ บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลผดุงครรภ์ : challenging roles for nurse-midwives Original title : excessive weight gain during pregnancy Material Type: printed text Authors: สุพิศ ศิริอรุณรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.156-169 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.156-169Keywords: การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น.ขณะตั้งครรภ์.บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26877 [article] การมีน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นเกินเกณฑ์ขณะตั้งครรภ์ บทบาทที่ท้าทายของพยาบาลผดุงครรภ์ = excessive weight gain during pregnancy : challenging roles for nurse-midwives [printed text] / สุพิศ ศิริอรุณรัตน์, Author . - 2017 . - p.156-169.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การออกกำลังกายแบบอะวาโอโดริ / พัชระกรพจน์ ศรีประสาร in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน / กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน : บทบาทพยาบาลชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ Original title : Fall risk assessment and management among older adults in the community the role of the public health nurse in the primary care Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.183-195 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.183-195Keywords: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.การหกล้ม. ผู้สูงอายุในชุมชน.บทบาทพยาบาลชุมชน.หน่วยบริการปฐมภูมิ Abstract: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.
การหกล้ม.
ผู้สูงอายุ.
บทบาทพยาบาลชุมชน.
หน่วยบริการปฐมภูมิ.Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26879 [article] การประเมินและจัดการปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน = Fall risk assessment and management among older adults in the community the role of the public health nurse in the primary care : บทบาทพยาบาลชุมชนในหน่วยบริการปฐมภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ กิตติพิมพานนทฺ์, Author . - 2017 . - p.183-195.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.183-195Keywords: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.การหกล้ม. ผู้สูงอายุในชุมชน.บทบาทพยาบาลชุมชน.หน่วยบริการปฐมภูมิ Abstract: การจัดการปัจจัยเสี่ยง.
การหกล้ม.
ผู้สูงอายุ.
บทบาทพยาบาลชุมชน.
หน่วยบริการปฐมภูมิ.Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26879