From this page you can:
Home |
Author details
Author พานทองชัย สุริศาฐ์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของโปรแกรมการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนเองในระยะคลอด ต่อพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดของผู้คลอดครรภ์แรก / สุริศาฐ์ พานทองชัย in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนเองในระยะคลอด ต่อพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดของผู้คลอดครรภ์แรก Original title : Effects of Self-Efficacy Enhancing Program during Childbirth on Pain Coping Behavior in Nulliparous Women Material Type: printed text Authors: สุริศาฐ์ พานทองชัย, Author ; ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, Author ; วรรณา พาหุวัฒนกร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.130-146 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.130-146Keywords: ความเจ็บปวด.ระยะคลอด.ผู้คลอดครรภ์แรก.ความสามารถของตนเอง. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi - experimental research design) เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความสามารถของตนเองในการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดของผู้คลอดครรภ์แรก กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้คลอดครรภ์แรก อายุครรภ์ 37 สัปดาห์ขึ้นไป จำนวน 56 ราย ที่มารับบริการที่หน่วยฝากครรภ์และห้องคลอด คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาลมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 28 ราย ซึ่งได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างความสามารถของตนเองในระยะคลอด ประกอบด้วย 1) จัดให้ผู้คลอด ชมสื่อวีดีทัศน์ 2) ซักถามสิ่งที่ผู้คลอดได้รับภายหลังการชมสื่อวีดีทัศน์ 3) จัดให้ดูสไลด์ประกอบการบรรยาย เรื่อง วิธีการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอด 4) การสาธิตและการฝึกปฏิบัติ การบริหารการหายใจและการลูบหน้าท้อง และกลุ่มควบคุม 28 ราย ซึ่งได้รับการพยาบาลตามปกติ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวด และแบบประเมินความเจ็บปวดด้วยสายตา เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดและแบบประเมินความเจ็บปวดด้วยสายตาในระยะคลอดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยสถิติที (independent t-test)
ผลการศึกษา พบว่า
คะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดในกลุ่มทดลองมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (t = 6.62) และคะแนนเฉลี่ยความเจ็บปวดในกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.001 (t = 2.93)
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ คือ ควรนำโปรแกรมการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถ
ของตนเองในระยะคลอดไปประยุกต์ใช้ เพื่อให้ผู้คลอดครรภ์แรกสามารถแสดงพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดได้อย่างเหมาะสมและเกิดผลลัพธ์การคลอดที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27063 [article] ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนเองในระยะคลอด ต่อพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดของผู้คลอดครรภ์แรก = Effects of Self-Efficacy Enhancing Program during Childbirth on Pain Coping Behavior in Nulliparous Women [printed text] / สุริศาฐ์ พานทองชัย, Author ; ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, Author ; วรรณา พาหุวัฒนกร, Author . - 2017 . - p.130-146.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.130-146Keywords: ความเจ็บปวด.ระยะคลอด.ผู้คลอดครรภ์แรก.ความสามารถของตนเอง. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (quasi - experimental research design) เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความสามารถของตนเองในการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดของผู้คลอดครรภ์แรก กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้คลอดครรภ์แรก อายุครรภ์ 37 สัปดาห์ขึ้นไป จำนวน 56 ราย ที่มารับบริการที่หน่วยฝากครรภ์และห้องคลอด คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาลมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามคุณสมบัติที่กำหนด แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 28 ราย ซึ่งได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างความสามารถของตนเองในระยะคลอด ประกอบด้วย 1) จัดให้ผู้คลอด ชมสื่อวีดีทัศน์ 2) ซักถามสิ่งที่ผู้คลอดได้รับภายหลังการชมสื่อวีดีทัศน์ 3) จัดให้ดูสไลด์ประกอบการบรรยาย เรื่อง วิธีการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอด 4) การสาธิตและการฝึกปฏิบัติ การบริหารการหายใจและการลูบหน้าท้อง และกลุ่มควบคุม 28 ราย ซึ่งได้รับการพยาบาลตามปกติ ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวด และแบบประเมินความเจ็บปวดด้วยสายตา เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดและแบบประเมินความเจ็บปวดด้วยสายตาในระยะคลอดระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วยสถิติที (independent t-test)
ผลการศึกษา พบว่า
คะแนนเฉลี่ยของพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดในกลุ่มทดลองมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 (t = 6.62) และคะแนนเฉลี่ยความเจ็บปวดในกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.001 (t = 2.93)
ข้อเสนอแนะจากการวิจัยครั้งนี้ คือ ควรนำโปรแกรมการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถ
ของตนเองในระยะคลอดไปประยุกต์ใช้ เพื่อให้ผู้คลอดครรภ์แรกสามารถแสดงพฤติกรรมการเผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอดได้อย่างเหมาะสมและเกิดผลลัพธ์การคลอดที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27063