From this page you can:
Home |
Author details
Author พงษ์ทอง วิภา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesประสบการณ์การใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ ของพยาบาลวิชาชีพ / วิภา พงษ์ทอง in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ประสบการณ์การใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ ของพยาบาลวิชาชีพ Original title : A study of professional nurses autonomy in hospitals and medicak centers Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: วิภา พงษ์ทอง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.70-85 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.70-85Keywords: ประสบการณ์. ศิลปะการไกล่เกลี่ย. พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
บรรยายความหมายและประสบการณ์การใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จของพยาบาลวิชาชีพ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยา
คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง คือพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการจัดการข้อร้องเรียนด้วยการใช้การไกล่เกลี่ยจนประสบความสำเร็จ เป็นผู้ร่วมไกล่เกลี่ยไม่น้อยกว่า10 เรื่องหรือเป็นหัวหน้าผู้ไกล่เกลี่ยไม่น้อยกว่า 5 เรื่องและ/หรือเป็นบุคคลที่มีผลงานในการแก้ไข
ข้อร้องเรียนอย่างเด่นชัดจนเป็นต้นแบบในด้านการจัดการข้อร้องเรียน จำนวน 10 คน คัดเลือก
โดยใช้วิธีการบอกต่อแบบลูกโซ่ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามวิธีการของ Van Manen
ผลการศึกษา พบว่า ความหมายของการใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ
มี 4 ความหมาย คือ 1) ความสามารถในการสร้างความเข้าใจที่ตรงกันนำไปสู่การยุติแบบสร้างสรรค์ 2) การประสานให้คู่กรณีกลับมามีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 3) การเข้าใจถึงความสูญเสียเยียวยาหัวใจเขาด้วยหัวใจเราและ 4) การหาทางออกประนีประนอมให้ได้ผลประโยชน์ร่วมกัน
ส่วนประสบการณ์การใช้ศิลปะในการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ พบ 9 ประเด็นหลัก คือ
1) มีหลักคิดในงาน รักที่จะทำงานด้วยใจ 2) มีหลักคิดว่าทุกคนคือญาติ 3) การแสดงความจริงใจมีใจบริการ ปราศจากเงื่อนไข 4) การทำความเข้าใจข้อเท็จจริงอย่างรวดเร็ว 5) การฟังอย่างเข้าใจโดยไม่ตัดสิน 6) การพูดสื่อสารความเข้าใจ แก้ไขสถานการณ์ 7) การใช้ภาษากายเพื่อสื่อสารความต้องการของผู้ร้องเรียน และทำความเข้าใจผู้ถูกร้องเรียน 8) การประสานงานแบบไร้รอยต่อและ 9) การเยียวยาอย่างเข้าใจLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27059 [article] ประสบการณ์การใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ ของพยาบาลวิชาชีพ = A study of professional nurses autonomy in hospitals and medicak centers Ministry of Public Health [printed text] / วิภา พงษ์ทอง, Author . - 2017 . - p.70-85.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.70-85Keywords: ประสบการณ์. ศิลปะการไกล่เกลี่ย. พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
บรรยายความหมายและประสบการณ์การใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จของพยาบาลวิชาชีพ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยา
คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง คือพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการจัดการข้อร้องเรียนด้วยการใช้การไกล่เกลี่ยจนประสบความสำเร็จ เป็นผู้ร่วมไกล่เกลี่ยไม่น้อยกว่า10 เรื่องหรือเป็นหัวหน้าผู้ไกล่เกลี่ยไม่น้อยกว่า 5 เรื่องและ/หรือเป็นบุคคลที่มีผลงานในการแก้ไข
ข้อร้องเรียนอย่างเด่นชัดจนเป็นต้นแบบในด้านการจัดการข้อร้องเรียน จำนวน 10 คน คัดเลือก
โดยใช้วิธีการบอกต่อแบบลูกโซ่ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามวิธีการของ Van Manen
ผลการศึกษา พบว่า ความหมายของการใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ
มี 4 ความหมาย คือ 1) ความสามารถในการสร้างความเข้าใจที่ตรงกันนำไปสู่การยุติแบบสร้างสรรค์ 2) การประสานให้คู่กรณีกลับมามีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 3) การเข้าใจถึงความสูญเสียเยียวยาหัวใจเขาด้วยหัวใจเราและ 4) การหาทางออกประนีประนอมให้ได้ผลประโยชน์ร่วมกัน
ส่วนประสบการณ์การใช้ศิลปะในการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ พบ 9 ประเด็นหลัก คือ
1) มีหลักคิดในงาน รักที่จะทำงานด้วยใจ 2) มีหลักคิดว่าทุกคนคือญาติ 3) การแสดงความจริงใจมีใจบริการ ปราศจากเงื่อนไข 4) การทำความเข้าใจข้อเท็จจริงอย่างรวดเร็ว 5) การฟังอย่างเข้าใจโดยไม่ตัดสิน 6) การพูดสื่อสารความเข้าใจ แก้ไขสถานการณ์ 7) การใช้ภาษากายเพื่อสื่อสารความต้องการของผู้ร้องเรียน และทำความเข้าใจผู้ถูกร้องเรียน 8) การประสานงานแบบไร้รอยต่อและ 9) การเยียวยาอย่างเข้าใจLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27059