From this page you can:
Home |
Author details
Author วิเศษฤทธิ์ วาสินี
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการศึกษาการปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาล / วิภาวี หงษ์ทอง in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : การศึกษาการปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาล : ศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Material Type: printed text Authors: วิภาวี หงษ์ทอง, Author ; วาสินี วิเศษฤทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.86-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.86-101Keywords: เอกสิทธิ์ทางการพยาบาล.สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาล
ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำแนกตามระดับการศึกษา
ประสบการณ์การทำงาน ตำแหน่งงาน การอบรมหลักสูตรเฉพาะทาง หน่วยงานที่ปฏิบัติ และระดับการได้รับการนิเทศ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 431 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามการได้รับการนิเทศจากหัวหน้างานและแบบสอบถาม
การปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ ผู้วิจัยสร้างตามแนวคิดเอกสิทธิ์
ทางการพยาบาลของซูเซ็นโซเฟอร์ บอลลูน ปาคเกอร์ และบราวน์ ร่วมกับการสัมภาษณ์พยาบาลวิชาชีพหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ จำนวน 10 คน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผ้ทรงคุณวุฒิโดยมีค่าความตรงตามเนื้อหาเทา่ กับ .81 และ .85 ตามลำดับ และผ่านการทดสอบความเที่ยงโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .94 และ .90 ตามลำดับ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. การปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X=3.99, SD = 0.42) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการปกป้องและปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย (X=4.26, SD = 0.58)ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดและอยู่ในระดับปานกลางคือ ด้านการพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรม และเทคโนโลยี (X=3.48, SD = 0.51)
2. พยาบาลวิชาชีพที่มีระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน ตำแหน่งงาน และระดับ
การได้รับการนิเทศที่ต่างกัน มีการปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนพยาบาลวิชาชีพที่ผ่านหรือไม่ผ่านการอบรมหลักสูตรเฉพาะทาง
และพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่แตกต่างกัน มีการปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาล
ไม่แตกต่างกันLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27060 [article] การศึกษาการปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาล : ศูนย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุข [printed text] / วิภาวี หงษ์ทอง, Author ; วาสินี วิเศษฤทธิ์, Author . - 2017 . - p.86-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.86-101Keywords: เอกสิทธิ์ทางการพยาบาล.สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาล
ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำแนกตามระดับการศึกษา
ประสบการณ์การทำงาน ตำแหน่งงาน การอบรมหลักสูตรเฉพาะทาง หน่วยงานที่ปฏิบัติ และระดับการได้รับการนิเทศ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 431 คน ที่ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามการได้รับการนิเทศจากหัวหน้างานและแบบสอบถาม
การปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ ผู้วิจัยสร้างตามแนวคิดเอกสิทธิ์
ทางการพยาบาลของซูเซ็นโซเฟอร์ บอลลูน ปาคเกอร์ และบราวน์ ร่วมกับการสัมภาษณ์พยาบาลวิชาชีพหัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ จำนวน 10 คน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผ้ทรงคุณวุฒิโดยมีค่าความตรงตามเนื้อหาเทา่ กับ .81 และ .85 ตามลำดับ และผ่านการทดสอบความเที่ยงโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .94 และ .90 ตามลำดับ
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. การปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข โดยรวมอยู่ในระดับมาก (X=3.99, SD = 0.42) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการปกป้องและปฏิบัติตามสิทธิผู้ป่วย (X=4.26, SD = 0.58)ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดและอยู่ในระดับปานกลางคือ ด้านการพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรม และเทคโนโลยี (X=3.48, SD = 0.51)
2. พยาบาลวิชาชีพที่มีระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน ตำแหน่งงาน และระดับ
การได้รับการนิเทศที่ต่างกัน มีการปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนพยาบาลวิชาชีพที่ผ่านหรือไม่ผ่านการอบรมหลักสูตรเฉพาะทาง
และพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่แตกต่างกัน มีการปฏิบัติตามเอกสิทธิ์ทางการพยาบาล
ไม่แตกต่างกันLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27060 ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน เพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย / นิตยา พ่วงดี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน เพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย Original title : Experiences of Head Nurses in Using Humor for Tension Situation Management in Patient Unit Material Type: printed text Authors: นิตยา พ่วงดี, Author ; วาสินี วิเศษฤทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.55-69 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.55-69Keywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.การจัดการสถานการณ์ตึงเครียด.ประสบการณ์หัวหน้าผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยา (Husserl phenomenology)
มีวัตถุประสงค์
1) เพื่อบรรยายประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน
2) จัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยภายใต้กำกับรัฐแห่งหนึ่ง ที่ได้รับการยอมรับจากหัวหน้าและเพื่อนร่วมงานว่าเป็นผู้มีอารมณ์ขันมีประสบการณ์ในการนำอารมณ์ขันมาใช้ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย
มีประสบการณ์ในการทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นเวลา 2 ปีขึ้นไป และยินดีเข้าร่วมการ
เป็นผู้ให้ข้อมูล โดยคัดเลือกแบบเจาะจงและจากการบอกต่อแบบลูกโซ่ จำนวน 10 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลมาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามวิธีของ Van Manen (1990)
ผลการศึกษา พบว่า
ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขันเพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก ดังนี้
1) สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสภาวการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ได้แก่
1.1) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากการดูแลผู้ป่วย
1.2) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากนโยบายของโรงพยาบาล และ
1.3) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากขาดแคลนบุคลากรพยาบาล
2) อารมณ์ขันเป็นวิธีที่ดีในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด ได้แก่
2.1) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความคิดเชิงบวก
2.2) อารมณ์ขันช่วยทำให้สถานการณ์คลี่คลาย
และ 2.3) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความสุขและได้แบ่งปันความสุข
3) ประสบการณ์ของการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดโดยใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
3.1) ประเมินสถานการณ์ก่อนใช้อารมณ์ขัน
3.2) ใช้อารมณ์ขันให้เหมาะสมกับบุคคล
3.3) ต้องมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันก่อนใช้อารมณ์ขัน และ
4) บทเรียนที่ได้รับภายหลังการใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
4.1) บรรยากาศในการทำงานดี บุคลากรมีความสุข 4.2) มีเสน่ห์ รวยเพื่อน
4.3) พยาบาลอารมณ์ดี ลดการกระทบกระทั่งกับผู้ป่วย
4.4) เปิดโลกทางความคิดสร้างสรรค์ให้บุคลากร และ
4.5) มีข้อพึงระวังในการใช้อารมณ์ขัน
ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางแก่หัวหน้าหอผู้ป่วยในการนำอารมณ์ขันมาใช้
ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด เพื่อให้การบริหารหอผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทาง
ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการใช้อารมณ์ขันในการพัฒนา บริหารจัดการคุณภาพบริการพยาบาลLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27058 [article] ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน เพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย = Experiences of Head Nurses in Using Humor for Tension Situation Management in Patient Unit [printed text] / นิตยา พ่วงดี, Author ; วาสินี วิเศษฤทธิ์, Author . - 2017 . - p.55-69.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.55-69Keywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.การจัดการสถานการณ์ตึงเครียด.ประสบการณ์หัวหน้าผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยา (Husserl phenomenology)
มีวัตถุประสงค์
1) เพื่อบรรยายประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน
2) จัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยภายใต้กำกับรัฐแห่งหนึ่ง ที่ได้รับการยอมรับจากหัวหน้าและเพื่อนร่วมงานว่าเป็นผู้มีอารมณ์ขันมีประสบการณ์ในการนำอารมณ์ขันมาใช้ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย
มีประสบการณ์ในการทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นเวลา 2 ปีขึ้นไป และยินดีเข้าร่วมการ
เป็นผู้ให้ข้อมูล โดยคัดเลือกแบบเจาะจงและจากการบอกต่อแบบลูกโซ่ จำนวน 10 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลมาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามวิธีของ Van Manen (1990)
ผลการศึกษา พบว่า
ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขันเพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก ดังนี้
1) สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสภาวการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ได้แก่
1.1) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากการดูแลผู้ป่วย
1.2) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากนโยบายของโรงพยาบาล และ
1.3) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากขาดแคลนบุคลากรพยาบาล
2) อารมณ์ขันเป็นวิธีที่ดีในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด ได้แก่
2.1) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความคิดเชิงบวก
2.2) อารมณ์ขันช่วยทำให้สถานการณ์คลี่คลาย
และ 2.3) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความสุขและได้แบ่งปันความสุข
3) ประสบการณ์ของการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดโดยใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
3.1) ประเมินสถานการณ์ก่อนใช้อารมณ์ขัน
3.2) ใช้อารมณ์ขันให้เหมาะสมกับบุคคล
3.3) ต้องมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันก่อนใช้อารมณ์ขัน และ
4) บทเรียนที่ได้รับภายหลังการใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
4.1) บรรยากาศในการทำงานดี บุคลากรมีความสุข 4.2) มีเสน่ห์ รวยเพื่อน
4.3) พยาบาลอารมณ์ดี ลดการกระทบกระทั่งกับผู้ป่วย
4.4) เปิดโลกทางความคิดสร้างสรรค์ให้บุคลากร และ
4.5) มีข้อพึงระวังในการใช้อารมณ์ขัน
ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางแก่หัวหน้าหอผู้ป่วยในการนำอารมณ์ขันมาใช้
ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด เพื่อให้การบริหารหอผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทาง
ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการใช้อารมณ์ขันในการพัฒนา บริหารจัดการคุณภาพบริการพยาบาลLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27058