From this page you can:
Home |
Author details
Author แร่ทอง ปริญญา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต: ความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล / ปริญญา แร่ทอง in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต: ความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล Original title : Experience of Surrogate Decision Makers in Withdrawing Life-Sustaining Treatment: Types of Help Needed from Physicians and Nurse Material Type: printed text Authors: ปริญญา แร่ทอง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.122-133 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.122-133Keywords: ความช่วยเหลือจากแพทย์.ความช่วยเหลือจากพยาบาล.การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต.ประสบการณ์ผู้ทำหน้าที่การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต. Abstract: บทคัดย่อ : วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษำประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์
และพยาบาล
การออกแบบวิจัย : การวิจัยคุณภาพเชิงปรากฏการณ์วิทยา
วิธีดำเนินการวิจัย : ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ายที่เข้ารักษาในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
จำนวน 13 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเฉพำะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภำษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามหลักการของโคไลซี
ผลการวิจัย : ประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านควำมต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล ประกอบด้วย
ประเด็นดังนี้ 1) ข้อมูลและการให้คำปรึกษา โดยมีประเด็นย่อยคือ 1.1) ข้อมูลชัดเจน เพียงพอและต่อเนื่อง 1.2) การเปิดโอกาสให้ซักถามและได้รับคำตอบในสิ่งที่สงสัย 1.3) การพูด
สะท้อนคิดเพื่อให้ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง 2) การยืดหยุ่นเวลาเยี่ยมเพื่อให้มีส่วนร่วมดูแล 3) การช่วยดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด โดยมีประเด็นย่อยคือ 3.1) สุขสบายทั้งกายใจ ไม่เจ็บปวด
ทุกข์ทรมาน 3.2) เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 3.3) ตายดี จิตวิญญาณสู่สุขคติภูมิ
ข้อเสนอแนะ : ผลกำรวิจัย สำมำรถนำมาใช้ประโยชน์สำหรับบุคลากรทีมสุขภาพ เพื่อใช้ในพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ด้านการวางแผนเตรียมความพร้อมของ
ผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจเพื่อยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ำยที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ รวมทั้งนำมาใช้ในการจัดเรียนการสอนเพื่อช่วย
ให้นักศึกษาแพทย์และนักศึกษาพยาบาลให้เกิดควำมเข้าใจและรับรู้ถึงความรู้สึกแท้จริงที่เกิดขึ้นตำมปรากฏการณ์อย่างลึกซึ้งต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27054 [article] ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต: ความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล = Experience of Surrogate Decision Makers in Withdrawing Life-Sustaining Treatment: Types of Help Needed from Physicians and Nurse [printed text] / ปริญญา แร่ทอง, Author . - 2017 . - p.122-133.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.122-133Keywords: ความช่วยเหลือจากแพทย์.ความช่วยเหลือจากพยาบาล.การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต.ประสบการณ์ผู้ทำหน้าที่การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต. Abstract: บทคัดย่อ : วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษำประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์
และพยาบาล
การออกแบบวิจัย : การวิจัยคุณภาพเชิงปรากฏการณ์วิทยา
วิธีดำเนินการวิจัย : ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ายที่เข้ารักษาในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
จำนวน 13 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเฉพำะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภำษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามหลักการของโคไลซี
ผลการวิจัย : ประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านควำมต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล ประกอบด้วย
ประเด็นดังนี้ 1) ข้อมูลและการให้คำปรึกษา โดยมีประเด็นย่อยคือ 1.1) ข้อมูลชัดเจน เพียงพอและต่อเนื่อง 1.2) การเปิดโอกาสให้ซักถามและได้รับคำตอบในสิ่งที่สงสัย 1.3) การพูด
สะท้อนคิดเพื่อให้ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง 2) การยืดหยุ่นเวลาเยี่ยมเพื่อให้มีส่วนร่วมดูแล 3) การช่วยดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด โดยมีประเด็นย่อยคือ 3.1) สุขสบายทั้งกายใจ ไม่เจ็บปวด
ทุกข์ทรมาน 3.2) เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 3.3) ตายดี จิตวิญญาณสู่สุขคติภูมิ
ข้อเสนอแนะ : ผลกำรวิจัย สำมำรถนำมาใช้ประโยชน์สำหรับบุคลากรทีมสุขภาพ เพื่อใช้ในพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ด้านการวางแผนเตรียมความพร้อมของ
ผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจเพื่อยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ำยที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ รวมทั้งนำมาใช้ในการจัดเรียนการสอนเพื่อช่วย
ให้นักศึกษาแพทย์และนักศึกษาพยาบาลให้เกิดควำมเข้าใจและรับรู้ถึงความรู้สึกแท้จริงที่เกิดขึ้นตำมปรากฏการณ์อย่างลึกซึ้งต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27054