From this page you can:
Home |
Author details
Author จริญรัตนเดชะกูล นฐธิกานตร์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด ช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด ช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย : โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ Material Type: printed text Authors: นฐธิกานตร์ จริญรัตนเดชะกูล, Author ; พนิตตา พลาศรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.76-90 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.76-90Keywords: รูปแบบการพยาบาล.ผู้ป่วยอุบัติเหตุ.การผ่าตัดชอ่งท้องแบบฉุกเฉิน.การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย
การออกแบบวิจัย: การวิจัยและพัฒนา
การดำเนินการวิจัย: แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ค้นหาและวิเคราะห์ปัญหา ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการพยาบาล โดยใช้กระบวนกำรปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องด้วยแนวคิดของเดมมิ่ง กลุ่มตัวอย่ำง ได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจงจำนวน 32 คน ได้แก่ พยาบาลวิสัญญีทีมพัฒนา 6 คน และพยาบาลวิสัญญีทีมผู้ทดลองใช้รูปแบบการพยาบาล 26 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แนวคำถามปัญหาและอุปสรรคการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน 2) รูปแบบการพยาบาล และ3) แบบประเมินความคิดเห็นของทีมผู้ทดลองใช้ต่อการนำไปใช้จริง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: รูปแบบกำรพยาบาลที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย ลำดับขั้นตอนกระบวนการพยาบาลตั้งแต่แรกรับจนถึงการติดตามตรวจเยี่ยมหลังผ่าตัด บทบาทวิชาชีพพยาบาลวิสัญญี และกิจกรรม การพยาบาล และผลความคิดเห็นภาพรวมต่อการนำไปใช้จริง พบว่า 1) รูปแบบการพยาบาลใช้ได้ผลดี ในการดูแลผู้ป่วย 2) มีความเป็นไปได้ในการนำไปสู่กำรปฏิบัติ และ 3) พึงพอใจในการนำไปใช้อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 88.46, 61.54 และ 69.23 ตำมลำดับ นอกจากนี้ผู้ป่วย 5 รายที่ใช้รูปแบบการพยาบาล ไม่พบอุบัติการณ์ภาวะหัวใจหยุดเต้นแบบเฉียบพลันและเสียชีวิตระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึก
ข้อเสนอแนะ: รูปแบบการพยาบาลสามารถนำมาใช้ดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย อย่างไรก็ตามยังต้องการการประเมินประสิทธิผลก่อนกำการนำไปใช้ต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27051 [article] การพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัด ช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย : โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ [printed text] / นฐธิกานตร์ จริญรัตนเดชะกูล, Author ; พนิตตา พลาศรี, Author . - 2017 . - p.76-90.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.76-90Keywords: รูปแบบการพยาบาล.ผู้ป่วยอุบัติเหตุ.การผ่าตัดชอ่งท้องแบบฉุกเฉิน.การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อพัฒนารูปแบบการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่ต้องเข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย
การออกแบบวิจัย: การวิจัยและพัฒนา
การดำเนินการวิจัย: แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ค้นหาและวิเคราะห์ปัญหา ระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการพยาบาล โดยใช้กระบวนกำรปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่องด้วยแนวคิดของเดมมิ่ง กลุ่มตัวอย่ำง ได้มาจากการคัดเลือกแบบเจาะจงจำนวน 32 คน ได้แก่ พยาบาลวิสัญญีทีมพัฒนา 6 คน และพยาบาลวิสัญญีทีมผู้ทดลองใช้รูปแบบการพยาบาล 26 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1) แนวคำถามปัญหาและอุปสรรคการพยาบาลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉิน 2) รูปแบบการพยาบาล และ3) แบบประเมินความคิดเห็นของทีมผู้ทดลองใช้ต่อการนำไปใช้จริง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: รูปแบบกำรพยาบาลที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย ลำดับขั้นตอนกระบวนการพยาบาลตั้งแต่แรกรับจนถึงการติดตามตรวจเยี่ยมหลังผ่าตัด บทบาทวิชาชีพพยาบาลวิสัญญี และกิจกรรม การพยาบาล และผลความคิดเห็นภาพรวมต่อการนำไปใช้จริง พบว่า 1) รูปแบบการพยาบาลใช้ได้ผลดี ในการดูแลผู้ป่วย 2) มีความเป็นไปได้ในการนำไปสู่กำรปฏิบัติ และ 3) พึงพอใจในการนำไปใช้อยู่ในระดับมาก ร้อยละ 88.46, 61.54 และ 69.23 ตำมลำดับ นอกจากนี้ผู้ป่วย 5 รายที่ใช้รูปแบบการพยาบาล ไม่พบอุบัติการณ์ภาวะหัวใจหยุดเต้นแบบเฉียบพลันและเสียชีวิตระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึก
ข้อเสนอแนะ: รูปแบบการพยาบาลสามารถนำมาใช้ดูแลผู้ป่วยอุบัติเหตุที่เข้ารับการผ่าตัดช่องท้องแบบฉุกเฉินภายใต้การระงับความรู้สึกแบบทั่วร่างกาย อย่างไรก็ตามยังต้องการการประเมินประสิทธิผลก่อนกำการนำไปใช้ต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27051