From this page you can:
Home |
Author details
Author รัตนผ่องใส ปิยมนต์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน : การใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทีี่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ Original title : Impact of a medication literacy programme on uncontrolled type 2 diabetic patients's health literacy on medication and medication Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.50-62 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.50-62Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. โปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยา.ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยา. ความร่วมมือในการใช้ยา. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำรให้การศึกษาในการใช้ยาต่อ
ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่เครือข่ายบริการสุขภาพของโรงพยาบาลหนองเสือ 4 แห่ง กลุ่มทดลองจำนวน 29 คนได้รับโปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยาจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมจำนวน 29 คนได้รับการดูแลตามปกติจากคลินิกโรคเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนำ และทดสอบสมมติฐานด้วย repeated measure ANOVA, Bonferroni และ independent t-test,
ผลการวิจัย: หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาลดลงจากหลังการทดลองแต่มากกว่าก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลอง (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาไม่ต่างจากหลังการทดลองแต่ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุม
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาCurricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27049 [article] ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน = Impact of a medication literacy programme on uncontrolled type 2 diabetic patients's health literacy on medication and medication : การใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทีี่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.50-62.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.50-62Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. โปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยา.ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยา. ความร่วมมือในการใช้ยา. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำรให้การศึกษาในการใช้ยาต่อ
ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่เครือข่ายบริการสุขภาพของโรงพยาบาลหนองเสือ 4 แห่ง กลุ่มทดลองจำนวน 29 คนได้รับโปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยาจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมจำนวน 29 คนได้รับการดูแลตามปกติจากคลินิกโรคเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนำ และทดสอบสมมติฐานด้วย repeated measure ANOVA, Bonferroni และ independent t-test,
ผลการวิจัย: หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาลดลงจากหลังการทดลองแต่มากกว่าก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลอง (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาไม่ต่างจากหลังการทดลองแต่ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุม
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาCurricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27049 ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน Original title : Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.63-75 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 [article] ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ = Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.63-75.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050