From this page you can:
Home |
Author details
Author สมบัติสิรินันท์ กาญจนา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามี ต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด / ปิยะพร กองเงิน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามี ต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด : และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย Original title : Impact of an empowerment programme for pregnant wpmen with preterm birth and their husbands on their health promoting behavior number of preterm births and low birth weight infants Material Type: printed text Authors: ปิยะพร กองเงิน, Author ; วิไลลักษณ์ วงษ์อาษา, Author ; กาญจนา สมบัติสิรินันท์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.67-82 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.67-82Keywords: โปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ. สตรีตั้งครรภ์. สามี. ทารกคลอดก่อนกำหนด. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่
สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามี ต่อพฤติกรรม
ส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
การออกแบบวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง 2กลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงโดยเป็นสตรี
ตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด และสามี ที่มาฝากครรภ์
ในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติจำนวน 116 คู่ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลอง 58 คู่ กลุ่มควบคุม 58 คู่ กลุ่มทดลองสตรีตั้งครรภ์และสามีได้รับโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ
ในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามปกติจากโรงพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
(1) แบบประเมินพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
(2) แบบประเมินพฤติกรรมของสามีในการส่งเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพรรณา การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
ผลการวิจัย: เมื่อสิ้นสุดการทดลองสตรีตั้งครรภ์กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนดสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
สามีกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
มีจำนวนการคลอดก่อนกำหนด่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) และ จำนวนการคลอดทารกแรกเกิด
น้ำหนักน้อยต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาแสดงว่าโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ
สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ช่วยลดจำนวนของการคลอด
ก่อนกำหนด และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยได้ จึงเสนอแนะให้
จัดโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ขึ้นในแผนกฝากครรภ์
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27044 [article] ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามี ต่อพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด = Impact of an empowerment programme for pregnant wpmen with preterm birth and their husbands on their health promoting behavior number of preterm births and low birth weight infants : และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย [printed text] / ปิยะพร กองเงิน, Author ; วิไลลักษณ์ วงษ์อาษา, Author ; กาญจนา สมบัติสิรินันท์, Author . - 2016 . - p.67-82.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.67-82Keywords: โปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ. สตรีตั้งครรภ์. สามี. ทารกคลอดก่อนกำหนด. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจแก่
สตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและสามี ต่อพฤติกรรม
ส่งเสริมสุขภาพ จำนวนของการคลอดก่อนกำหนด และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
การออกแบบวิจัย: การวิจัยแบบกึ่งทดลอง 2กลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงโดยเป็นสตรี
ตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด และสามี ที่มาฝากครรภ์
ในโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติจำนวน 116 คู่ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลอง 58 คู่ กลุ่มควบคุม 58 คู่ กลุ่มทดลองสตรีตั้งครรภ์และสามีได้รับโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ
ในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด กลุ่มควบคุมได้รับความรู้ตามปกติจากโรงพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
(1) แบบประเมินพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
(2) แบบประเมินพฤติกรรมของสามีในการส่งเสริมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติพรรณา การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
ผลการวิจัย: เมื่อสิ้นสุดการทดลองสตรีตั้งครรภ์กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนดสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
สามีกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
มีจำนวนการคลอดก่อนกำหนด่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) และ จำนวนการคลอดทารกแรกเกิด
น้ำหนักน้อยต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05)
ข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาแสดงว่าโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ
สามารถเปลี่ยนพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ ช่วยลดจำนวนของการคลอด
ก่อนกำหนด และทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยได้ จึงเสนอแนะให้
จัดโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ขึ้นในแผนกฝากครรภ์
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27044