From this page you can:
Home |
Author details
Author นารีรัตน์ จิตรมนตรี
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยพื้นฐานบางประการ ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล / นพวรรณ ดวงจันทร์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยพื้นฐานบางประการ ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล : รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ โรคหลอดเลือดสมอง Original title : Correlation between the Quality of Life of Stroke Patients’ Caregivers and Basic Factors, Mutuality and Rewards of Caregiving Material Type: printed text Authors: นพวรรณ ดวงจันทร์, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.65-78 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.65-78Keywords: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล. รางวัลสำหรับการดูแล. คุณภาพชีวิตญาติผู้ดูแล ผู้สูงอายุ. โรคหลอดเลือดสมอง. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานบางประการ
ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ
โรคหลอดเลือดสมอง
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบศึกษาความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: ใช้กรอบแนวคิด The Family Care Model ของ Archbold และ
Stewart กลุ่มตัวอย่างคือญาติผู้ดูแลหลักของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 100 ราย
ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์สถิติ Fisher, s Exact Test สถิติ Eta และ Spearman’s
correlation coeffcient
ผลการวิจัย: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของญาติ
ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 (r = .287, p<.01) ส่วน
เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการดูแล และรางวัลสำหรับการดูแลไม่มีความสัมพันธ์กับ
คุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลในการวางแผนการพยาบาล
การดูแลญาติเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองให้ดีLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27297 [article] ความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยพื้นฐานบางประการ ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล = Correlation between the Quality of Life of Stroke Patients’ Caregivers and Basic Factors, Mutuality and Rewards of Caregiving : รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ โรคหลอดเลือดสมอง [printed text] / นพวรรณ ดวงจันทร์, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author . - 2017 . - p.65-78.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.65-78Keywords: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล. รางวัลสำหรับการดูแล. คุณภาพชีวิตญาติผู้ดูแล ผู้สูงอายุ. โรคหลอดเลือดสมอง. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานบางประการ
ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูล รางวัลสำหรับการดูแลกับคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลที่ดูแลผู้สูงอายุ
โรคหลอดเลือดสมอง
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบศึกษาความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: ใช้กรอบแนวคิด The Family Care Model ของ Archbold และ
Stewart กลุ่มตัวอย่างคือญาติผู้ดูแลหลักของผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 100 ราย
ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์
ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและวิเคราะห์สถิติ Fisher, s Exact Test สถิติ Eta และ Spearman’s
correlation coeffcient
ผลการวิจัย: ความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของญาติ
ผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 (r = .287, p<.01) ส่วน
เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการดูแล และรางวัลสำหรับการดูแลไม่มีความสัมพันธ์กับ
คุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินความสัมพันธ์ต่างเกื้อกูลในการวางแผนการพยาบาล
การดูแลญาติเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลผู้สูงอายุโรคหลอดเลือดสมองให้ดีLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27297 ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 / กมลพร สิริคุตจตุพร in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 Original title : Factors Predicting Self-Management Behaviour of Elderly Type 2 Diabetes Patients Material Type: printed text Authors: กมลพร สิริคุตจตุพร, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-93 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.84-93Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การกำกับตนเอง. การสนับสนุนทางสังคม. พฤติกรรมการจัดการตนเอง. ผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความรู้เรื่องโรคเบาหวาน
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม ต่อพฤติกรรม
การจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบหาอำนาจการทำนาย
วิธีการดำเนินการวิจัย: การวิจัยนี้ใช้กรอบแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบ
ผสมผสานของ Ryan กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุ 60 ปีขึ้นไปคัดเลือกตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 132 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ( = 5.59, SD. = 0.87) ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเอง
ได้ร้อยละ 81.2 (R2= .812, F = 142.59, p < .01) และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองได้สูงสุด (β = .597, p < .01)
ข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 2 ครอบครัว เพื่อนหรือเพื่อนบ้าน และบุคลากรทางการแพทย์ ควรมีส่วนร่วมในการใช้
หลักอาหารแลกเปลี่ยนและการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และผลการวิจัยสามารถนำไปพัฒนาโปรแกรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26986 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 = Factors Predicting Self-Management Behaviour of Elderly Type 2 Diabetes Patients [printed text] / กมลพร สิริคุตจตุพร, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author . - 2017 . - p.84-93.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.84-93Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การกำกับตนเอง. การสนับสนุนทางสังคม. พฤติกรรมการจัดการตนเอง. ผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความรู้เรื่องโรคเบาหวาน
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม ต่อพฤติกรรม
การจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบหาอำนาจการทำนาย
วิธีการดำเนินการวิจัย: การวิจัยนี้ใช้กรอบแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบ
ผสมผสานของ Ryan กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุ 60 ปีขึ้นไปคัดเลือกตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 132 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ( = 5.59, SD. = 0.87) ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเอง
ได้ร้อยละ 81.2 (R2= .812, F = 142.59, p < .01) และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองได้สูงสุด (β = .597, p < .01)
ข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 2 ครอบครัว เพื่อนหรือเพื่อนบ้าน และบุคลากรทางการแพทย์ ควรมีส่วนร่วมในการใช้
หลักอาหารแลกเปลี่ยนและการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และผลการวิจัยสามารถนำไปพัฒนาโปรแกรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26986