From this page you can:
Home |
Author details
Author ยุวดี เกตสัมพันธ์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesภาพลักษณ์พยาบาลไทยในสื่อหนังสือพิมพ์ ระหว่าง พ.ศ. 2547-2558 / รุจา ภู่ไพบูลย์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ภาพลักษณ์พยาบาลไทยในสื่อหนังสือพิมพ์ ระหว่าง พ.ศ. 2547-2558 Original title : Image of Thai Nurses in Newspapers between 2004 and 2015 Material Type: printed text Authors: รุจา ภู่ไพบูลย์, Author ; นันทพันธ์ ชินล้ำประเสริฐ, Author ; ยุวดี เกตสัมพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.5-17 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.5-17Keywords: ภาพลักษณ์. พยาบาล. สื่อหนังสือพิมพ์. สื่อออนไลน์. การรับรู้. Abstract:
วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่ออธิบายภาพลักษณ์ของพยาบาลไทย และแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของพยาบาลในหนังสือพิมพ์ไทยและสื่อออนไลน์ ระหว่าง พ.ศ. 2547-2558
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเอกสารเชิงพรรณา การดำเนินการวิจัย: เอกสารที่ศึกษาได้แก่1) ข่าวหนังสือพิมพ์ที่ปรากฏในสิ่งพิมพ์ ไมโครฟิลม์ และข่าวออนไลน์ จำนวน 395 ข่าว วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย : พบภาพลักษณ์พยาบาลในข่าวหนังสือพิมพ์และข่าวออนไลนม์ทั้งเชิงบวก และเชิงลบ ข่าวพยาบาลสะท้อนภาพลักษณ์ เป็นเชิงบวก 3 ด้าน และเชิงลบ 5 ด้าน โดยรวม พบว่าภาพลักษณ์เชิงบวกเน้นการบริการที่ดีมีประสิทธิภาพ มีการแสดงออกทางกริยามารยาท ที่ดีเป็นที่ประทับใจ เป็นผู้เสียสละ แต่ภาพลักษณ์เชิงลบมักเกี่ยวกับการบริการที่ไม่ประทับใจ คณุภาพชีวิตของพยาบาลที่ไม่ดี และไม่ก้าวหน้า พบว่าแนวโนม้ข่าวพยาบาลในหนังสือพิมพ์ เพิ่มขึ้นทั้งภาพลักษณ์เชิงบวกและเชิงลบ แต่ภาพลักษณ์เชิงลบมีจำนวนมากกว่าเชิงบวก
ข้อเสนอแนะ: ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางในการพัฒนาภาพลักษณ์ของพยาบาลเชิงบวก ทั้งแนวรุกและแนวรับ ได้แก่ สถาบัน องค์กรวิชาชีพ สร้างกลไกการสื่อสาร ให้ข้อมูลแก่สื่อ เกี่ยวกับกิจกรรมของพยาบาลที่มีประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ควรมี หน่วยงานหรือผู้ทำหน้าที่โฆษกของสถาบันวิชาชีพระดับประเทศที่ช่วยกระจายข่าวอย่างมี ประสิทธิภาพ แสดงจุดยืนที่เป็นผู้พิทักษ์สิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพ เพื่อให้สื่อสาธารณะรับรู้บทบาทพยาบาลที่เป็นฝ่ายประชาชนผู้รับบริการ ร่วมกับสื่อหนังสือพิมพ์ ในการให้ความรู้ ประชาชน และมีการให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับพยาบาลLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26980 [article] ภาพลักษณ์พยาบาลไทยในสื่อหนังสือพิมพ์ ระหว่าง พ.ศ. 2547-2558 = Image of Thai Nurses in Newspapers between 2004 and 2015 [printed text] / รุจา ภู่ไพบูลย์, Author ; นันทพันธ์ ชินล้ำประเสริฐ, Author ; ยุวดี เกตสัมพันธ์, Author . - 2017 . - p.5-17.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.5-17Keywords: ภาพลักษณ์. พยาบาล. สื่อหนังสือพิมพ์. สื่อออนไลน์. การรับรู้. Abstract:
วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่ออธิบายภาพลักษณ์ของพยาบาลไทย และแนวโน้ม การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ของพยาบาลในหนังสือพิมพ์ไทยและสื่อออนไลน์ ระหว่าง พ.ศ. 2547-2558
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเอกสารเชิงพรรณา การดำเนินการวิจัย: เอกสารที่ศึกษาได้แก่1) ข่าวหนังสือพิมพ์ที่ปรากฏในสิ่งพิมพ์ ไมโครฟิลม์ และข่าวออนไลน์ จำนวน 395 ข่าว วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย : พบภาพลักษณ์พยาบาลในข่าวหนังสือพิมพ์และข่าวออนไลนม์ทั้งเชิงบวก และเชิงลบ ข่าวพยาบาลสะท้อนภาพลักษณ์ เป็นเชิงบวก 3 ด้าน และเชิงลบ 5 ด้าน โดยรวม พบว่าภาพลักษณ์เชิงบวกเน้นการบริการที่ดีมีประสิทธิภาพ มีการแสดงออกทางกริยามารยาท ที่ดีเป็นที่ประทับใจ เป็นผู้เสียสละ แต่ภาพลักษณ์เชิงลบมักเกี่ยวกับการบริการที่ไม่ประทับใจ คณุภาพชีวิตของพยาบาลที่ไม่ดี และไม่ก้าวหน้า พบว่าแนวโนม้ข่าวพยาบาลในหนังสือพิมพ์ เพิ่มขึ้นทั้งภาพลักษณ์เชิงบวกและเชิงลบ แต่ภาพลักษณ์เชิงลบมีจำนวนมากกว่าเชิงบวก
ข้อเสนอแนะ: ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางในการพัฒนาภาพลักษณ์ของพยาบาลเชิงบวก ทั้งแนวรุกและแนวรับ ได้แก่ สถาบัน องค์กรวิชาชีพ สร้างกลไกการสื่อสาร ให้ข้อมูลแก่สื่อ เกี่ยวกับกิจกรรมของพยาบาลที่มีประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ควรมี หน่วยงานหรือผู้ทำหน้าที่โฆษกของสถาบันวิชาชีพระดับประเทศที่ช่วยกระจายข่าวอย่างมี ประสิทธิภาพ แสดงจุดยืนที่เป็นผู้พิทักษ์สิทธิผู้บริโภคด้านสุขภาพ เพื่อให้สื่อสาธารณะรับรู้บทบาทพยาบาลที่เป็นฝ่ายประชาชนผู้รับบริการ ร่วมกับสื่อหนังสือพิมพ์ ในการให้ความรู้ ประชาชน และมีการให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับพยาบาลLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26980