From this page you can:
Home |
Author details
Author สุนทรไชยา รังสิมันต์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง / มุจรินทร์ พุทธเมตตา in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง Original title : Selected factors related to depression of the elder persons with depressive disorder in the central region Material Type: printed text Authors: มุจรินทร์ พุทธเมตตา, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.69-82 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.69-82Keywords: ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ.ผู้สุงอายุ.โรคเรื้อรัง.ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า. Abstract: ัเพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า และศึกษาึวามสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก้ เพศ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความสามารถในการรู้คิด การดื้มแอลกอฮอล์ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางจิตใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ ความเชื่อทางศาสานากับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า
วิธีการศึกษา คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าที่มีอายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไป ที่มารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 176 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบทดสอบสมรรถภาพสมอง แบบประเมินเหตุการณ์ความเครียด แบบประเมินความรู้สึกที่มีคุณค่า แบบประเมินความเข้มอข็ง แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความสามารถในหน้าที และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุุ
ผลการศึกษา มีดังนี้
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า ส่วนใหญ่พบ อยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 30.7 และระดับรุนแแรง ร้อยละ 3.4
2. เพศ มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .242, p<-01)
3. การดื่มแอลกอฮอล์ และเหตุการณ์ความเครียดในชีวิต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .238,<.01 และ r=.435, p,.01)
4. ความสามารถในการรู้คิด ความรู้สึิกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ และความเชื่อทางศาสนา มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb=.181,p<.05,r=.318,p< .01,r=.320,p<.01 r=331,p<.01, r=.362, p,.01 และ rpb=.179, p,.05 ตามลำดับ)
5. การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26951 [article] ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง = Selected factors related to depression of the elder persons with depressive disorder in the central region [printed text] / มุจรินทร์ พุทธเมตตา, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author . - 2017 . - p.69-82.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.69-82Keywords: ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ.ผู้สุงอายุ.โรคเรื้อรัง.ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า. Abstract: ัเพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า และศึกษาึวามสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก้ เพศ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความสามารถในการรู้คิด การดื้มแอลกอฮอล์ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางจิตใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ ความเชื่อทางศาสานากับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า
วิธีการศึกษา คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าที่มีอายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไป ที่มารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 176 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบทดสอบสมรรถภาพสมอง แบบประเมินเหตุการณ์ความเครียด แบบประเมินความรู้สึกที่มีคุณค่า แบบประเมินความเข้มอข็ง แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความสามารถในหน้าที และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุุ
ผลการศึกษา มีดังนี้
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า ส่วนใหญ่พบ อยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 30.7 และระดับรุนแแรง ร้อยละ 3.4
2. เพศ มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .242, p<-01)
3. การดื่มแอลกอฮอล์ และเหตุการณ์ความเครียดในชีวิต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .238,<.01 และ r=.435, p,.01)
4. ความสามารถในการรู้คิด ความรู้สึิกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ และความเชื่อทางศาสนา มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb=.181,p<.05,r=.318,p< .01,r=.320,p<.01 r=331,p<.01, r=.362, p,.01 และ rpb=.179, p,.05 ตามลำดับ)
5. การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26951 ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า / ธวัชชัย พละศักดิ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า Original title : The effect of the problem solving therapy program on depression of patients with major depressivedioo Material Type: printed text Authors: ธวัชชัย พละศักดิ์, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.60-74 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.60-74Keywords: การบำบัดโดยการแก้ปัญหา. ภาวะซึมเศร้า. โรคซึมเศร้า.roblem solving therapy. Depression. Major Depressive Disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา และเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จำนวน 40 คน จับคู่ตามลักษณะที่คล้ายกัน ได้แก่ เพศ รายได้ และระดับภาวะซึมเศร้า แล้วสุ่มแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3)แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 4) แบบสำรวจการแก้ปัญหา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ค่าความเที่ยงของแบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบสำรวจการแก้ปัญหา เท่ากับ .75 และ .78 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test)
ผลการศึกษา:
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา น้อยกว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาสามารถทำให้ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าลดลงได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าน้อยและปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Objective: The purpose of this experimental research were to compare depression of patient with major depressive disorder before and after receiving the problem solving therapy program; and to compare depression between the patients who received the problem solving therapy program and who received the routine nursing care.
Methods: A sample of 40 patients with major depressive disorder was received treatment at the out patients of Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital. Matched pair characteristics of gender personal and levels of depression income were randomly assigned into the experimental and the control group. The research instruments were 1) Problem Solving Therapy Program 2) Personal data questionnaire 3) Beck Depression Inventory 4) Problem Solving Inventory. These instruments were tested for content validity by five professional experts. The reliability of Beck Depression Inventory and Problem Solving Inventoy was .75 and .78. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t - test.
Results:
1. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than before at the level of .05.
2. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than those who received routine nursing care at the level of .05.
Conclusion: Problem Solving Therapy Program can reduce level of depression in patients with mild and moderate major depressive disorder.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27472 [article] ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า = The effect of the problem solving therapy program on depression of patients with major depressivedioo [printed text] / ธวัชชัย พละศักดิ์, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author . - 2017 . - p.60-74.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.60-74Keywords: การบำบัดโดยการแก้ปัญหา. ภาวะซึมเศร้า. โรคซึมเศร้า.roblem solving therapy. Depression. Major Depressive Disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา และเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จำนวน 40 คน จับคู่ตามลักษณะที่คล้ายกัน ได้แก่ เพศ รายได้ และระดับภาวะซึมเศร้า แล้วสุ่มแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3)แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 4) แบบสำรวจการแก้ปัญหา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ค่าความเที่ยงของแบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบสำรวจการแก้ปัญหา เท่ากับ .75 และ .78 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test)
ผลการศึกษา:
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา น้อยกว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาสามารถทำให้ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าลดลงได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าน้อยและปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Objective: The purpose of this experimental research were to compare depression of patient with major depressive disorder before and after receiving the problem solving therapy program; and to compare depression between the patients who received the problem solving therapy program and who received the routine nursing care.
Methods: A sample of 40 patients with major depressive disorder was received treatment at the out patients of Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital. Matched pair characteristics of gender personal and levels of depression income were randomly assigned into the experimental and the control group. The research instruments were 1) Problem Solving Therapy Program 2) Personal data questionnaire 3) Beck Depression Inventory 4) Problem Solving Inventory. These instruments were tested for content validity by five professional experts. The reliability of Beck Depression Inventory and Problem Solving Inventoy was .75 and .78. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t - test.
Results:
1. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than before at the level of .05.
2. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than those who received routine nursing care at the level of .05.
Conclusion: Problem Solving Therapy Program can reduce level of depression in patients with mild and moderate major depressive disorder.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27472 ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า Original title : The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER Material Type: printed text Authors: พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.119-132. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475 [article] ผลของโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มต่อพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้า = The effect of group social support program on medication adherence of elderly patients with major depressive disorder WITH MAJOR DEPRESSIVE DISORDER [printed text] / พิสิฐ รุ่งโรจน์วัฒนศิริ, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author . - 2017 . - p.119-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.119-132.Keywords: ผู้ป่วยสูงอายุ. โรคซึมเศร้า. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษา. การสนับสนุนทางสังคม.Elderly patient. Major depressive disorder. Medication adherence. Social support. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้ป่วยสูงอายุโรคซึมเศร้าที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่ม
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 60 ปีขึ้นไป แผนกผู้ป่วยนอกจำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน ผู้วิจัยพัฒนาเนื้อหาการสนับสนุนทางสังคมแบบกลุ่มจากแนวคิดการสนับสนุนทางสังคมของ House (1981) โดยมีองค์ประกอบ 4 ด้านได้แก่ 1) การสนับสนุนด้านอารมณ์ 2) การสนับสนุนด้านการประเมินค่า 3) การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร และ 4) การสนับสนุนด้านทรัพยากรในการพัฒนาเนื้อหา/สาระของแต่ละกิจกรรมและกระบวนการดำเนินกลุ่มของMarram (1978) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบทดสอบสภาพสมองเบื้องต้นฉบับภาษาไทย 3) แบบประเมินพฤติกรรมการรับประทานยาและ 4) แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคมวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. พฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการสนับสนุนทางสังคมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. หลังการทดลองพฤติกรรมการใช้ยาตามเกณฑ์การรักษาของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27475