From this page you can:
Home |
Author details
Author ประดิษฐสมานนท์ อภิชาต
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU RS-T. การปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน บริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด / มนูญ คเณราช / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน บริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Original title : Energy Efficiency Improvement for Toshiba Consumer Products (Thailand) Co., Ltd. Material Type: printed text Authors: มนูญ คเณราช, Author ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 105 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การอนุรักษ์พลังงาน
[LCSH]พลังงานไฟฟ้าKeywords: ประสิทธิภาพ,
พลังงานไฟฟ้า,
พลังงานความร้อน,
การอนุรักษ์พลังงาน,
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงานเฉพาะAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าภายในบริษัทโตชิบาคอนซูมเมอรโปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อหาประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยเก็บข้อมูลการใช้พลังงานต่างๆ ภายในโรงงาน สำรวจพฤติกรรมการทำงานของกระบวนการต่างๆ รวมถึงการหามาตรการการประหยัดพลังงาน
ผลการวิจัยพบว่า ในปี 2558 ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตตู้เย็นมีค่า 42.45 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้ามีค่า 25.05 kWh/เครื่อง ซึ่งหากจะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายในโรงงานจะต้องทำการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลง จึงได้เสนอ 9 มาตรการประหยัดพลังงานคือ (1) มาตรการลดการทำงานของเครื่องจักรในช่วงพักกลางวัน (2) มาตรการลดระยะเวลาการอุ่นเครื่องฉีดพลาสติกช่วงเช้าวันจันทร์ (3) มาตรการลดการทำงานของเครื่องปั๊มขึ้นรูป (Press M/C) ที่โรงงานตู้เย็น (4) มาตรการรวมโหลดหม้อแปลงไฟฟ้าของอาคารเครื่องซักผ้า (5) มาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller) ที่โรงฉีดพลาสติก (6) มาตรการปรับปรุงการระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศที่สำนักงานส่วนกลาง (7) มาตรการการปรับความเร็วรอบมอเตอร์ปั๊มน้ำหล่อเย็นโดยใช้ Inverter ที่ Cooling tower สำหรับกระบวนการฉีดพลาสติก (8) มาตรการปรับปรุงระบบแสงสว่างโดยใช้หลอดประหยัดพลังงานชนิดหลอด LED 183 วัตต์ และ (9) มาตรการปรับปรุงชุดความร้อนของเครื่องฉีดพลาสติกโดยใช้ Infrared Heater ซึ่งจากมาตรการดังกล่าวนี้หากนำไปปฏิบัติ จะสามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลงได้ 3,700,781 kWh/ปี และจะทำให้ค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นและเครื่องซักผ้าลดลง โดยค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นจะมีค่า 39.26 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้าจะมีค่า 23.17 kWh/เครื่อง ซึ่งถือว่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงงานแห่งนี้จะมีประสิทธิภาพดีขึ้นCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26897 SIU RS-T. การปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน บริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด = Energy Efficiency Improvement for Toshiba Consumer Products (Thailand) Co., Ltd. [printed text] / มนูญ คเณราช, Author ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 105 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การอนุรักษ์พลังงาน
[LCSH]พลังงานไฟฟ้าKeywords: ประสิทธิภาพ,
พลังงานไฟฟ้า,
พลังงานความร้อน,
การอนุรักษ์พลังงาน,
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงานเฉพาะAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าภายในบริษัทโตชิบาคอนซูมเมอรโปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อหาประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยเก็บข้อมูลการใช้พลังงานต่างๆ ภายในโรงงาน สำรวจพฤติกรรมการทำงานของกระบวนการต่างๆ รวมถึงการหามาตรการการประหยัดพลังงาน
ผลการวิจัยพบว่า ในปี 2558 ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตตู้เย็นมีค่า 42.45 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้ามีค่า 25.05 kWh/เครื่อง ซึ่งหากจะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายในโรงงานจะต้องทำการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลง จึงได้เสนอ 9 มาตรการประหยัดพลังงานคือ (1) มาตรการลดการทำงานของเครื่องจักรในช่วงพักกลางวัน (2) มาตรการลดระยะเวลาการอุ่นเครื่องฉีดพลาสติกช่วงเช้าวันจันทร์ (3) มาตรการลดการทำงานของเครื่องปั๊มขึ้นรูป (Press M/C) ที่โรงงานตู้เย็น (4) มาตรการรวมโหลดหม้อแปลงไฟฟ้าของอาคารเครื่องซักผ้า (5) มาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller) ที่โรงฉีดพลาสติก (6) มาตรการปรับปรุงการระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศที่สำนักงานส่วนกลาง (7) มาตรการการปรับความเร็วรอบมอเตอร์ปั๊มน้ำหล่อเย็นโดยใช้ Inverter ที่ Cooling tower สำหรับกระบวนการฉีดพลาสติก (8) มาตรการปรับปรุงระบบแสงสว่างโดยใช้หลอดประหยัดพลังงานชนิดหลอด LED 183 วัตต์ และ (9) มาตรการปรับปรุงชุดความร้อนของเครื่องฉีดพลาสติกโดยใช้ Infrared Heater ซึ่งจากมาตรการดังกล่าวนี้หากนำไปปฏิบัติ จะสามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลงได้ 3,700,781 kWh/ปี และจะทำให้ค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นและเครื่องซักผ้าลดลง โดยค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นจะมีค่า 39.26 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้าจะมีค่า 23.17 kWh/เครื่อง ซึ่งถือว่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงงานแห่งนี้จะมีประสิทธิภาพดีขึ้นCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26897 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593770 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000593796 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU THE-T. ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ / สุจิตรา ปานพุ่ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ Original title : Cost Effectiveness in Renewable Energy Investment Supported by Government Electricity Generating Investment System Material Type: printed text Authors: สุจิตรา ปานพุ่ม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xviii, 305 p. Layout: ill, Tables Size: 30 cm. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOMT-MSMT-2017-01
THE. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การลงทุน
[LCSH]พลังงานทดแทนKeywords: ความคุ้มทุน,
พลังงานทดแทน,
ระบบการลงทุนผลิตไฟฟ้าAbstract: การวิจัยเรื่อง ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐและ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาถึงประเภทและการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ระเบียบและกฎเกณฑ์การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กระทรวงพลังงาน การสนับสนุนจากภาครัฐ นำมาวิเคราะห์ถึงชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ กับทฤษฎีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการพร้อมทั้งสัมภาษณ์ ผู้บริหารและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ
ผลการวิจัย พบว่า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวล ที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนทั้ง 3 ชนิด เนื่องจากนโยบายการรับซื้อพลังงานทดแทนที่รัฐสามารถเลือกกำหนด feed-in tariff ให้มีความสมดุลในด้านการลดค่าใช้จ่ายภาครัฐ และคงความน่าลงทุนในพลังงานทดแทนได้โดยไม่ส่งผลกระทบที่มีนัยสำคัญต่อภาคธุรกิจและผู้บริโภค และไม่มีข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบในการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเมื่อเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ เนื่องจากมีการวิเคราะห์ด้านเทคนิค ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐศาสตร์ และการเงินก่อนการลงทุน แต่พบว่าการประกอบกิจการพลังงานทดแทนมีปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนหลายประการ 1) มีปัญหาด้านต้นทุนการผลิตต่อหน่วยยังอยู่ในระดับค่อนข้างสูง 2) ปัญหาด้านข้อกฎหมาย ประกาศ กฎ ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานทดแทน 3) ปัญหาในขั้นตอนของการบริหารจัดการและการขอใบอนุญาตจำหน่ายไฟฟ้า 4) ปัญหาการจัดโครงสร้างองค์กรด้านพลังงานทดแทนที่มีความสลับซับซ้อนในอำนาจหน้าที่ 5) ข้อจำกัดของระบบสายจำหน่าย 6) การวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนยังไม่เพียงพอ 7) ปัญหาด้านข้อกฎหมายในพื้นที่ที่ตั้งโรงไฟฟ้า 8) ปัญหาด้านการทับซ้อนการทำธุรกิจพลังงาน 9) ปัญหาด้านระบบโคร้างสร้างพื้นฐาน และ 10) ปัญหาการสนับสนุนด้านการเงินในการลงทุนในกิจการพลังงานทดแทน ซึ่งปัญหาเหล่านี้รัฐควรเร่งดำเนินการแก้ไขเพื่อให้พลังงานทดแทนสามารถแข่งขันกับพลังงานจากฟอสซิลได้ในอนาคตCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27507 SIU THE-T. ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ = Cost Effectiveness in Renewable Energy Investment Supported by Government Electricity Generating Investment System [printed text] / สุจิตรา ปานพุ่ม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xviii, 305 p. : ill, Tables ; 30 cm.
500.00
SIU THE-T: SOMT-MSMT-2017-01
THE. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การลงทุน
[LCSH]พลังงานทดแทนKeywords: ความคุ้มทุน,
พลังงานทดแทน,
ระบบการลงทุนผลิตไฟฟ้าAbstract: การวิจัยเรื่อง ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐและ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาถึงประเภทและการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ระเบียบและกฎเกณฑ์การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กระทรวงพลังงาน การสนับสนุนจากภาครัฐ นำมาวิเคราะห์ถึงชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ กับทฤษฎีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการพร้อมทั้งสัมภาษณ์ ผู้บริหารและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ
ผลการวิจัย พบว่า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวล ที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนทั้ง 3 ชนิด เนื่องจากนโยบายการรับซื้อพลังงานทดแทนที่รัฐสามารถเลือกกำหนด feed-in tariff ให้มีความสมดุลในด้านการลดค่าใช้จ่ายภาครัฐ และคงความน่าลงทุนในพลังงานทดแทนได้โดยไม่ส่งผลกระทบที่มีนัยสำคัญต่อภาคธุรกิจและผู้บริโภค และไม่มีข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบในการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเมื่อเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ เนื่องจากมีการวิเคราะห์ด้านเทคนิค ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐศาสตร์ และการเงินก่อนการลงทุน แต่พบว่าการประกอบกิจการพลังงานทดแทนมีปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนหลายประการ 1) มีปัญหาด้านต้นทุนการผลิตต่อหน่วยยังอยู่ในระดับค่อนข้างสูง 2) ปัญหาด้านข้อกฎหมาย ประกาศ กฎ ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานทดแทน 3) ปัญหาในขั้นตอนของการบริหารจัดการและการขอใบอนุญาตจำหน่ายไฟฟ้า 4) ปัญหาการจัดโครงสร้างองค์กรด้านพลังงานทดแทนที่มีความสลับซับซ้อนในอำนาจหน้าที่ 5) ข้อจำกัดของระบบสายจำหน่าย 6) การวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนยังไม่เพียงพอ 7) ปัญหาด้านข้อกฎหมายในพื้นที่ที่ตั้งโรงไฟฟ้า 8) ปัญหาด้านการทับซ้อนการทำธุรกิจพลังงาน 9) ปัญหาด้านระบบโคร้างสร้างพื้นฐาน และ 10) ปัญหาการสนับสนุนด้านการเงินในการลงทุนในกิจการพลังงานทดแทน ซึ่งปัญหาเหล่านี้รัฐควรเร่งดำเนินการแก้ไขเพื่อให้พลังงานทดแทนสามารถแข่งขันกับพลังงานจากฟอสซิลได้ในอนาคตCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27507 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596401 SIU THE-T: SOMT-MSMT-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Library Counter Not for loan 32002000595908 SIU THE-T: SOMT-MSMT-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Library Counter Not for loan