From this page you can:
Home |
Author details
Author ปานพุ่ม สุจิตรา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ / สุจิตรา ปานพุ่ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ Original title : Cost Effectiveness in Renewable Energy Investment Supported by Government Electricity Generating Investment System Material Type: printed text Authors: สุจิตรา ปานพุ่ม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xviii, 305 p. Layout: ill, Tables Size: 30 cm. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOMT-MSMT-2017-01
THE. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การลงทุน
[LCSH]พลังงานทดแทนKeywords: ความคุ้มทุน,
พลังงานทดแทน,
ระบบการลงทุนผลิตไฟฟ้าAbstract: การวิจัยเรื่อง ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐและ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาถึงประเภทและการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ระเบียบและกฎเกณฑ์การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กระทรวงพลังงาน การสนับสนุนจากภาครัฐ นำมาวิเคราะห์ถึงชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ กับทฤษฎีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการพร้อมทั้งสัมภาษณ์ ผู้บริหารและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ
ผลการวิจัย พบว่า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวล ที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนทั้ง 3 ชนิด เนื่องจากนโยบายการรับซื้อพลังงานทดแทนที่รัฐสามารถเลือกกำหนด feed-in tariff ให้มีความสมดุลในด้านการลดค่าใช้จ่ายภาครัฐ และคงความน่าลงทุนในพลังงานทดแทนได้โดยไม่ส่งผลกระทบที่มีนัยสำคัญต่อภาคธุรกิจและผู้บริโภค และไม่มีข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบในการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเมื่อเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ เนื่องจากมีการวิเคราะห์ด้านเทคนิค ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐศาสตร์ และการเงินก่อนการลงทุน แต่พบว่าการประกอบกิจการพลังงานทดแทนมีปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนหลายประการ 1) มีปัญหาด้านต้นทุนการผลิตต่อหน่วยยังอยู่ในระดับค่อนข้างสูง 2) ปัญหาด้านข้อกฎหมาย ประกาศ กฎ ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานทดแทน 3) ปัญหาในขั้นตอนของการบริหารจัดการและการขอใบอนุญาตจำหน่ายไฟฟ้า 4) ปัญหาการจัดโครงสร้างองค์กรด้านพลังงานทดแทนที่มีความสลับซับซ้อนในอำนาจหน้าที่ 5) ข้อจำกัดของระบบสายจำหน่าย 6) การวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนยังไม่เพียงพอ 7) ปัญหาด้านข้อกฎหมายในพื้นที่ที่ตั้งโรงไฟฟ้า 8) ปัญหาด้านการทับซ้อนการทำธุรกิจพลังงาน 9) ปัญหาด้านระบบโคร้างสร้างพื้นฐาน และ 10) ปัญหาการสนับสนุนด้านการเงินในการลงทุนในกิจการพลังงานทดแทน ซึ่งปัญหาเหล่านี้รัฐควรเร่งดำเนินการแก้ไขเพื่อให้พลังงานทดแทนสามารถแข่งขันกับพลังงานจากฟอสซิลได้ในอนาคตCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27507 SIU THE-T. ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ = Cost Effectiveness in Renewable Energy Investment Supported by Government Electricity Generating Investment System [printed text] / สุจิตรา ปานพุ่ม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xviii, 305 p. : ill, Tables ; 30 cm.
500.00
SIU THE-T: SOMT-MSMT-2017-01
THE. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การลงทุน
[LCSH]พลังงานทดแทนKeywords: ความคุ้มทุน,
พลังงานทดแทน,
ระบบการลงทุนผลิตไฟฟ้าAbstract: การวิจัยเรื่อง ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐและ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาถึงประเภทและการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ระเบียบและกฎเกณฑ์การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กระทรวงพลังงาน การสนับสนุนจากภาครัฐ นำมาวิเคราะห์ถึงชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ กับทฤษฎีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการพร้อมทั้งสัมภาษณ์ ผู้บริหารและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ
ผลการวิจัย พบว่า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวล ที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนทั้ง 3 ชนิด เนื่องจากนโยบายการรับซื้อพลังงานทดแทนที่รัฐสามารถเลือกกำหนด feed-in tariff ให้มีความสมดุลในด้านการลดค่าใช้จ่ายภาครัฐ และคงความน่าลงทุนในพลังงานทดแทนได้โดยไม่ส่งผลกระทบที่มีนัยสำคัญต่อภาคธุรกิจและผู้บริโภค และไม่มีข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบในการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเมื่อเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ เนื่องจากมีการวิเคราะห์ด้านเทคนิค ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐศาสตร์ และการเงินก่อนการลงทุน แต่พบว่าการประกอบกิจการพลังงานทดแทนมีปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนหลายประการ 1) มีปัญหาด้านต้นทุนการผลิตต่อหน่วยยังอยู่ในระดับค่อนข้างสูง 2) ปัญหาด้านข้อกฎหมาย ประกาศ กฎ ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานทดแทน 3) ปัญหาในขั้นตอนของการบริหารจัดการและการขอใบอนุญาตจำหน่ายไฟฟ้า 4) ปัญหาการจัดโครงสร้างองค์กรด้านพลังงานทดแทนที่มีความสลับซับซ้อนในอำนาจหน้าที่ 5) ข้อจำกัดของระบบสายจำหน่าย 6) การวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนยังไม่เพียงพอ 7) ปัญหาด้านข้อกฎหมายในพื้นที่ที่ตั้งโรงไฟฟ้า 8) ปัญหาด้านการทับซ้อนการทำธุรกิจพลังงาน 9) ปัญหาด้านระบบโคร้างสร้างพื้นฐาน และ 10) ปัญหาการสนับสนุนด้านการเงินในการลงทุนในกิจการพลังงานทดแทน ซึ่งปัญหาเหล่านี้รัฐควรเร่งดำเนินการแก้ไขเพื่อให้พลังงานทดแทนสามารถแข่งขันกับพลังงานจากฟอสซิลได้ในอนาคตCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27507 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596401 SIU THE-T: SOMT-MSMT-2017-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Library Counter Not for loan 32002000595908 SIU THE-T: SOMT-MSMT-2017-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Library Counter Not for loan SIU THE-T. สัญญา ธรรมศักดิ์ กับการบริหารราชการไทย / สุจิตรา ปานพุ่ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : สัญญา ธรรมศักดิ์ กับการบริหารราชการไทย Original title : Sanya Dharmasakti and Thai Public Administration Material Type: printed text Authors: สุจิตรา ปานพุ่ม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 183 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การบริหาร
[LCSH]สัญญา ธรรมศักดิ์
[LCSH]ไทย -- ข้าราชการและพนักงานKeywords: สัญญา ธรรมศักดิ์
การบริหารราชการไทยAbstract: การวิจัย เรื่อง สัญญา ธรรมศักดิ์ กับการบริหารราชการไทย มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ในขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ตามหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาจากเอกสารถึงประวัติผลงานการกำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นำมาวิเคราะห์ถึงความสำเร็จหรือความล้มเหลวของนโยบายกับหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ พร้อมทั้งสัมภาษณ์นักวิชาการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการนำนโยบายดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติ
ผลการวิจัย พบว่า (1) นโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ในขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ประกอบด้วย นโยบายด้านแรงงาน นโยบายด้านการเกษตรกรรม และนโยบายด้านการศึกษา จำแนกเป็นนโยบายที่ประสบความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่ นโยบายแรงงานสัมพันธ์ และนโยบายที่ไม่ประสบความสำเร็จ ได้แก่ นโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และนโยบายการศึกษา (2) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ กับหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ พบว่า นโยบายแรงงานสัมพันธ์เป็นนโยบายที่ประสบความสำเร็จเนื่องจากเป็นไปตามหลักปรัชญาชองโทมัส ควีนาส ที่ว่ารัฐต้องเข้าไปดูแลเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและตัวแบบทางทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติของวรเดช จันทรศร : ตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล ส่วนนโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และนโยบายการศึกษานั้น ถึงแม้จะสอดคล้องกับหลักปรัชญาของโธมัส ฮอบส์ ที่ว่ารัฐต้องจัดสรรที่ดินทำกินเพื่อความผาสุกของประชาชน และนโยบายการศึกษาที่สอดคล้องกับ ปรัชญาของอริสโตเติล และปรัชญาของโสกราติส ที่ว่าการทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีจะต้องให้การศึกษานั้น ยังไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากเป็นการนำนโยบายไปปฏิบัติเป็นแบบบนลงล่าง ที่ให้ความสำคัญที่ตัวนโยบายและการควบคุมการนำนโยบายไปปฏิบัติโดยผู้กำหนดนโยบายว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติมากกว่าตัวผู้ปฏิบัติระดับล่าง ดังนั้นความล้มเหลวของนโยบาย จึงเกิดจากโครงสร้างหลักไม่ได้ตั้งอยู่บนทฤษฎีที่เหมาะสม มีหน่วยงานเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องจำนวนมาก มีความสลับซับซ้อนในการสั่งการและประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน พร้อมทั้งขาดความเชื่อมโยงและความต่อเนื่องของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งข้อค้นพบนี้ตามงานวิจัยของเพรสแมนและวิลดัฟสกี้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26553 SIU THE-T. สัญญา ธรรมศักดิ์ กับการบริหารราชการไทย = Sanya Dharmasakti and Thai Public Administration [printed text] / สุจิตรา ปานพุ่ม, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 183 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การบริหาร
[LCSH]สัญญา ธรรมศักดิ์
[LCSH]ไทย -- ข้าราชการและพนักงานKeywords: สัญญา ธรรมศักดิ์
การบริหารราชการไทยAbstract: การวิจัย เรื่อง สัญญา ธรรมศักดิ์ กับการบริหารราชการไทย มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ในขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์นโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ตามหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาจากเอกสารถึงประวัติผลงานการกำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นำมาวิเคราะห์ถึงความสำเร็จหรือความล้มเหลวของนโยบายกับหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ พร้อมทั้งสัมภาษณ์นักวิชาการ ผู้บริหาร และบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการนำนโยบายดังกล่าวไปสู่การปฏิบัติ
ผลการวิจัย พบว่า (1) นโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินของศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ ในขณะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ประกอบด้วย นโยบายด้านแรงงาน นโยบายด้านการเกษตรกรรม และนโยบายด้านการศึกษา จำแนกเป็นนโยบายที่ประสบความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้แก่ นโยบายแรงงานสัมพันธ์ และนโยบายที่ไม่ประสบความสำเร็จ ได้แก่ นโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และนโยบายการศึกษา (2) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินของ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ กับหลักปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ พบว่า นโยบายแรงงานสัมพันธ์เป็นนโยบายที่ประสบความสำเร็จเนื่องจากเป็นไปตามหลักปรัชญาชองโทมัส ควีนาส ที่ว่ารัฐต้องเข้าไปดูแลเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนและตัวแบบทางทฤษฎีการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติของวรเดช จันทรศร : ตัวแบบที่ยึดหลักเหตุผล ส่วนนโยบายการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และนโยบายการศึกษานั้น ถึงแม้จะสอดคล้องกับหลักปรัชญาของโธมัส ฮอบส์ ที่ว่ารัฐต้องจัดสรรที่ดินทำกินเพื่อความผาสุกของประชาชน และนโยบายการศึกษาที่สอดคล้องกับ ปรัชญาของอริสโตเติล และปรัชญาของโสกราติส ที่ว่าการทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีจะต้องให้การศึกษานั้น ยังไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากเป็นการนำนโยบายไปปฏิบัติเป็นแบบบนลงล่าง ที่ให้ความสำคัญที่ตัวนโยบายและการควบคุมการนำนโยบายไปปฏิบัติโดยผู้กำหนดนโยบายว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จของการนำนโยบายไปปฏิบัติมากกว่าตัวผู้ปฏิบัติระดับล่าง ดังนั้นความล้มเหลวของนโยบาย จึงเกิดจากโครงสร้างหลักไม่ได้ตั้งอยู่บนทฤษฎีที่เหมาะสม มีหน่วยงานเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องจำนวนมาก มีความสลับซับซ้อนในการสั่งการและประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน พร้อมทั้งขาดความเชื่อมโยงและความต่อเนื่องของการนำนโยบายไปปฏิบัติ ซึ่งข้อค้นพบนี้ตามงานวิจัยของเพรสแมนและวิลดัฟสกี้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26553 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592020 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596609 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available