From this page you can:
Home |
Author details
Author อรรถพิมล สมบัติ
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม / สมบัติ อรรถพิมล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม Original title : Approaches that Lead Disputing Parties to Consensual Acceptance of Mediation in the Court of Justice Material Type: printed text Authors: สมบัติ อรรถพิมล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 267 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระบวนการยุติธรรม -- ไทย
[LCSH]การระงับข้อพิพาท
[LCSH]การไกล่เกลี่ยKeywords: การไกล่เกลี่ย
การยอมรับ
ข้อพิพาท
ยุติธรรมทางเลือก
ศาลยุติธรรมAbstract: การระงับข้อพิพาทโดยศาลยุติธรรมดำเนินการโดย 2 ลักษณะวิธี คือ โดยการสืบพยานหลักฐานและมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสิน กับโดยการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ศึกษาสภาพปัญหาที่คู่พิพาทยอมรับการไกล่เกลี่ย หลักแนวคิด หลักทฤษฎีที่อยู่เบื้องหลังการยอมรับการไกล่เกลี่ย เพื่อนำเสนอแนวทางที่เป็นตัวแบบที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย และศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพ และประสบการณ์ในการไกล่เกลี่ยที่แตกต่างกันมีผลต่อผู้เข้าเจรจาไกล่เกลี่ยแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยเสนอแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ย 4 แนวคิดทฤษฎี คือ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ตัวแปรต้น ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล แนวทางการแก้ไขปัญหาและแนวคิดทฤษฎี ตัวแปรตาม คือ การยอมรับการไกล่เกลี่ย
ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบผสมระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพ กับการวิจัยเชิงปริมาณ อาศัยข้อมูลจากเอกสาร จากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการสังเกตการณ์ และจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมาย การวิจัยเชิงคุณภาพนอกจากข้อมูลทางเอกสารแล้วได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารศาล 3 ท่าน ได้แก่ ประธานศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาภาค 1 และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงดุสิต และสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิต 10 คดี ได้แก่ โจทก์ ทนายโจทก์ ผู้เสียหาย จำเลย ทนายจำเลย และผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย รวม 48 คน รวมทั้งสิ้น 51 คน และจากการเข้าสังเกตการณ์การไกล่เกลี่ย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณได้ข้อมูลจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิตในปี 2557 จำนวน 492 คดี ประชากร 2,000 คน สุ่มตัวอย่างได้ 370 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์เนื้อหาความถี่ทางสถิติและความแปรปรวน สรุปเป็นข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้บริหารศาล มีความคิดเห็นที่สำคัญ 6 ประการ คือ 1) พึงพอใจในกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล 2) ผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยควรเป็นผู้มีความรู้ทางด้านกฎหมายและเทคนิคการเจรจาต่อรอง 3) การไกล่เกลี่ยจำเป็นต้องอาศัยแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิชาการที่ถูกคิดค้น และเป็นที่ยอมรับเป็นพื้นฐานในการเจรจาไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกัน 4) ไม่มีทฤษฎีใดดีที่สุด แต่ใช้หลายทฤษฎีประกอบกัน 5) ไม่เห็นด้วยที่ผู้ประนีประนอมคนหนึ่งทำหน้าที่หลายศาล และไม่เห็นด้วยที่ผู้พิพากษาสมทบไปเป็นผู้ประนีประนอมในศาลอื่น 6) ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยเป็นสิ่งสำคัญที่สร้างความเชื่อถือแก่คู่พิพาท ผู้พิพากษาอาวุโสเหมาะแก่การเป็นผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยคดีตัวอย่าง 10 คดี มีความคิดเห็นที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1) คู่พิพาทและบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เข้าไกล่เกลี่ยทุกคนพอใจกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล
2) บทบาทสำคัญของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยคือ เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแก่คู่พิพาท 3) เหตุผลการยอมรับการไกล่เกลี่ยเพราะมีการผ่อนปรนลดหนี้ให้แก่กัน และเพราะเชื่อถือในความเป็นกลางของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย 4) แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26551 SIU THE-T. แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม = Approaches that Lead Disputing Parties to Consensual Acceptance of Mediation in the Court of Justice [printed text] / สมบัติ อรรถพิมล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 267 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระบวนการยุติธรรม -- ไทย
[LCSH]การระงับข้อพิพาท
[LCSH]การไกล่เกลี่ยKeywords: การไกล่เกลี่ย
การยอมรับ
ข้อพิพาท
ยุติธรรมทางเลือก
ศาลยุติธรรมAbstract: การระงับข้อพิพาทโดยศาลยุติธรรมดำเนินการโดย 2 ลักษณะวิธี คือ โดยการสืบพยานหลักฐานและมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสิน กับโดยการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ศึกษาสภาพปัญหาที่คู่พิพาทยอมรับการไกล่เกลี่ย หลักแนวคิด หลักทฤษฎีที่อยู่เบื้องหลังการยอมรับการไกล่เกลี่ย เพื่อนำเสนอแนวทางที่เป็นตัวแบบที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย และศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพ และประสบการณ์ในการไกล่เกลี่ยที่แตกต่างกันมีผลต่อผู้เข้าเจรจาไกล่เกลี่ยแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยเสนอแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ย 4 แนวคิดทฤษฎี คือ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ตัวแปรต้น ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล แนวทางการแก้ไขปัญหาและแนวคิดทฤษฎี ตัวแปรตาม คือ การยอมรับการไกล่เกลี่ย
ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบผสมระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพ กับการวิจัยเชิงปริมาณ อาศัยข้อมูลจากเอกสาร จากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการสังเกตการณ์ และจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมาย การวิจัยเชิงคุณภาพนอกจากข้อมูลทางเอกสารแล้วได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารศาล 3 ท่าน ได้แก่ ประธานศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาภาค 1 และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงดุสิต และสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิต 10 คดี ได้แก่ โจทก์ ทนายโจทก์ ผู้เสียหาย จำเลย ทนายจำเลย และผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย รวม 48 คน รวมทั้งสิ้น 51 คน และจากการเข้าสังเกตการณ์การไกล่เกลี่ย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณได้ข้อมูลจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิตในปี 2557 จำนวน 492 คดี ประชากร 2,000 คน สุ่มตัวอย่างได้ 370 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์เนื้อหาความถี่ทางสถิติและความแปรปรวน สรุปเป็นข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้บริหารศาล มีความคิดเห็นที่สำคัญ 6 ประการ คือ 1) พึงพอใจในกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล 2) ผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยควรเป็นผู้มีความรู้ทางด้านกฎหมายและเทคนิคการเจรจาต่อรอง 3) การไกล่เกลี่ยจำเป็นต้องอาศัยแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิชาการที่ถูกคิดค้น และเป็นที่ยอมรับเป็นพื้นฐานในการเจรจาไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกัน 4) ไม่มีทฤษฎีใดดีที่สุด แต่ใช้หลายทฤษฎีประกอบกัน 5) ไม่เห็นด้วยที่ผู้ประนีประนอมคนหนึ่งทำหน้าที่หลายศาล และไม่เห็นด้วยที่ผู้พิพากษาสมทบไปเป็นผู้ประนีประนอมในศาลอื่น 6) ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยเป็นสิ่งสำคัญที่สร้างความเชื่อถือแก่คู่พิพาท ผู้พิพากษาอาวุโสเหมาะแก่การเป็นผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยคดีตัวอย่าง 10 คดี มีความคิดเห็นที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1) คู่พิพาทและบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เข้าไกล่เกลี่ยทุกคนพอใจกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล
2) บทบาทสำคัญของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยคือ เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแก่คู่พิพาท 3) เหตุผลการยอมรับการไกล่เกลี่ยเพราะมีการผ่อนปรนลดหนี้ให้แก่กัน และเพราะเชื่อถือในความเป็นกลางของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย 4) แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26551 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591972 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592004 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06 c.2 Thesis Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-)