Collection Title: | SIU RS-T | Title : | เปรียบเทียบการบริหารจัดการความสมบูรณ์ของป่าชายเลน กรณีศึกษา: ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ, ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจังหวัดชลบุรี และอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี | Original title : | To Compare the Management of Mangrove Forests. Case Study: Green Army (Pu) Jobs, and the Nature Center, Conservation and Ecotourism. Chonburi and Sirindhorn International Environmental Park. Phetchaburi Province | Material Type: | printed text | Authors: | พรภัทร ลือขจร, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2014 | Pagination: | vii, 73 น. | Layout: | ภาพประกอบ, ตาราง | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 | General note: | SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-02
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014. | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]ป่าชายเลน -- การบริหาร [LCSH]สิ่งแวดล้อม -- การจัดการ
| Keywords: | ป่าชายเลน
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ,อนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรี
อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี | Abstract: | การศึกษาวิจัยนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการความสมบูรณ์ของป่าชายเลน กรณีศึกษา: ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ, และศูนย์ศึกษาธรรมชาติ, อนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรี และอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติ สิรินธร จังหวัดเพชรบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านทราบถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินชายฝั่งให้คุ้มค่าและยั่งยืนได้ จะต้องมีการวางแผน การบริหารจัดการอย่างเหมาะสม ชัดเจน มีแนวทางการใช้ประโยชน์ ประสานสอดคล้องกันทั้งกายภาพชีวภาพ เศรษฐกิจ-สังคม โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จึงทำให้ผู้ศึกษาสนใจที่จะศึกษาการบริหารจัดการความสมบูรณ์ของป่าชายเลน รวมทั้งเพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการบริหารจัดการป่าชายเลนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป
โดยสรุป ป่าชายเลนเป็นระบบนิเวศชายฝั่งทะเลที่มีความสำคัญ และเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยป่าชายเลนได้เอื้อประโยชน์ต่อการดำรงชีพของทั้งมนุษย์และสัตว์ ซึ่งประโยชน์ของป่าชายเลนมีด้วยกันในหลายด้าน เช่น เป็นแหล่งพลังงานและแหล่งวัตถุดิบไม้ใช้สอยและก่อสร้างในครัวเรือน เป็นแหล่งอาหารและยารักษาโรค เป็นแหล่งอาหารและแหล่งอนุบาลของสัตว์น้ำ ช่วยรักษาสมดุลของระบบนิเวศใกล้เคียง ช่วยป้องกันการพังทลายของชายฝั่งและบรรเทาภัยพิบัติจากลมพายุ ช่วยดูดซับสิ่งปฏิกูลต่างๆ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและเป็นแหล่งศึกษาธรรมชาติ เป็นต้น | Curricular : | BSMT/MSMT | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26231 |
SIU RS-T. เปรียบเทียบการบริหารจัดการความสมบูรณ์ของป่าชายเลน กรณีศึกษา: ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ, ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและอนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจังหวัดชลบุรี และอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี = To Compare the Management of Mangrove Forests. Case Study: Green Army (Pu) Jobs, and the Nature Center, Conservation and Ecotourism. Chonburi and Sirindhorn International Environmental Park. Phetchaburi Province [printed text] / พรภัทร ลือขจร, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 73 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม. 500.00 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-02
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014. Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]ป่าชายเลน -- การบริหาร [LCSH]สิ่งแวดล้อม -- การจัดการ
| Keywords: | ป่าชายเลน
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ,อนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรี
อุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี | Abstract: | การศึกษาวิจัยนี้ เรียบเรียงขึ้นเพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการความสมบูรณ์ของป่าชายเลน กรณีศึกษา: ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) จังหวัดสมุทรปราการ, และศูนย์ศึกษาธรรมชาติ, อนุรักษ์ป่าชายเลนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรี และอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติ สิรินธร จังหวัดเพชรบุรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้อ่านทราบถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินชายฝั่งให้คุ้มค่าและยั่งยืนได้ จะต้องมีการวางแผน การบริหารจัดการอย่างเหมาะสม ชัดเจน มีแนวทางการใช้ประโยชน์ ประสานสอดคล้องกันทั้งกายภาพชีวภาพ เศรษฐกิจ-สังคม โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จึงทำให้ผู้ศึกษาสนใจที่จะศึกษาการบริหารจัดการความสมบูรณ์ของป่าชายเลน รวมทั้งเพื่อนำข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการบริหารจัดการป่าชายเลนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป
โดยสรุป ป่าชายเลนเป็นระบบนิเวศชายฝั่งทะเลที่มีความสำคัญ และเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม โดยป่าชายเลนได้เอื้อประโยชน์ต่อการดำรงชีพของทั้งมนุษย์และสัตว์ ซึ่งประโยชน์ของป่าชายเลนมีด้วยกันในหลายด้าน เช่น เป็นแหล่งพลังงานและแหล่งวัตถุดิบไม้ใช้สอยและก่อสร้างในครัวเรือน เป็นแหล่งอาหารและยารักษาโรค เป็นแหล่งอาหารและแหล่งอนุบาลของสัตว์น้ำ ช่วยรักษาสมดุลของระบบนิเวศใกล้เคียง ช่วยป้องกันการพังทลายของชายฝั่งและบรรเทาภัยพิบัติจากลมพายุ ช่วยดูดซับสิ่งปฏิกูลต่างๆ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและเป็นแหล่งศึกษาธรรมชาติ เป็นต้น | Curricular : | BSMT/MSMT | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26231 |
|