From this page you can:
Home |
Author details
Author เรืองสุวรรณ จารุภัทร
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU THE-T. ความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง / ภัทราวดี ศรีบุญสม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : ความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง Original title : Public Trust towards the Election Commission Material Type: printed text Authors: ภัทราวดี ศรีบุญสม, Author ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 88 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คณะกรรมการการเลือกตั้ง -- ไทย
[LCSH]ความไว้วางใจ -- แง่การเมืองKeywords: ความไว้วางใจของสาธารณชน
คณะกรรมการการเลือกตั้งAbstract: คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระและเป็นกลาง มีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลกระบวนการเลือกตั้งทั้งหมดเพื่อให้ได้สมาชิกรัฐสภาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามาสู่ระบบการเมืองอย่างโปร่งใส ยุติธรรมเพื่อเสริมสร้างระบอบประชาธิปไตยที่มั่นคงและมีเสถียรภาพ การดำเนินงานของคณะกรรมการการเลือกตั้งจะประสพความสำเร็จเพียงใดส่วนสำคัญขึ้นอยู่กับความไว้วางใจของสาธารณชน แต่เท่าที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งมาก่อน งานวิจัยนี้มุ่งตอบคำถามว่า (1) คณะกรรมการการเลือกตั้งได้รับความไว้วางใจจากสาธารณชนอยู่ในระดับใด (2) มีปัจจัยใดที่ส่งผลต่อระดับความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการเลือกตั้ง และ(3) ผลที่ได้จากการศึกษาตาม (1) และ (2) จะนำไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและการพัฒนาองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างไรบ้าง Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26154 SIU THE-T. ความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง = Public Trust towards the Election Commission [printed text] / ภัทราวดี ศรีบุญสม, Author ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 88 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คณะกรรมการการเลือกตั้ง -- ไทย
[LCSH]ความไว้วางใจ -- แง่การเมืองKeywords: ความไว้วางใจของสาธารณชน
คณะกรรมการการเลือกตั้งAbstract: คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระและเป็นกลาง มีหน้าที่รับผิดชอบในการดูแลกระบวนการเลือกตั้งทั้งหมดเพื่อให้ได้สมาชิกรัฐสภาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามาสู่ระบบการเมืองอย่างโปร่งใส ยุติธรรมเพื่อเสริมสร้างระบอบประชาธิปไตยที่มั่นคงและมีเสถียรภาพ การดำเนินงานของคณะกรรมการการเลือกตั้งจะประสพความสำเร็จเพียงใดส่วนสำคัญขึ้นอยู่กับความไว้วางใจของสาธารณชน แต่เท่าที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาอย่างลึกซึ้งถึงความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งมาก่อน งานวิจัยนี้มุ่งตอบคำถามว่า (1) คณะกรรมการการเลือกตั้งได้รับความไว้วางใจจากสาธารณชนอยู่ในระดับใด (2) มีปัจจัยใดที่ส่งผลต่อระดับความไว้วางใจของสาธารณชนที่มีต่อคณะกรรมการเลือกตั้ง และ(3) ผลที่ได้จากการศึกษาตาม (1) และ (2) จะนำไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและการพัฒนาองค์ความรู้ทางรัฐประศาสนศาสตร์ได้อย่างไรบ้าง Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26154 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590412 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591980 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย / สุดสาคร สิงห์ทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : ธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย Original title : Governance of the University Administrators in the Public University, Autonomous Public University and Private University in Southern Thailand Material Type: printed text Authors: สุดสาคร สิงห์ทอง, Author ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 256 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารรัฐกิจ -- แง่ศีลธรรมจรรยา
[LCSH]ธรรมรัฐ
[LCSH]ธรรมรัฐ -- วิจัย -- ไทย (ภาคใต้)Keywords: ธรรมาภิบาล
ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับธรรมาภิบาล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อธรรมาภิบาล และปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานแล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นการวิจัยแบบผสม หน่วยวิเคราะห์ คือ บุคลากรของมหาวิทยาลัยในภาคใต้ จำนวน 5 แห่ง ประชากรและ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 244 คน สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ไคว์สแควร์ การเปรียบเทียบพหุสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอย โดยโปรแกรม SPSS
ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้าน ความโปร่งใส อยู่ในระดับปานกลาง
2. ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์เชิงบวกสูงกับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
3. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเอกชนสูงกว่ามหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .05
4. ตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปร เรียงตามความสำคัญคือ ความสามารถในการกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติ ประสิทธิภาพการบริหารงานอย่างคุ้มค่า ภาวะผู้นำของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ความสามารถและความพร้อมในการปฏิบัติงาน และการติดต่อสื่อสารในการปฏิบัติงาน เป็นชุดตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการอธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ได้ร้อยละ 54.0 โดยมีความคลาดเคลื่อนของการทำนายเท่ากับ 9.119 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
5. ปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงาน แล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย มีการจัดลำดับความสำคัญแตกต่างกันในทุกมหาวิทยาลัย โดยทฤษฎีธรรมาภิบาลได้รับการนำมาใช้ในลำดับแรกเกือบทุกมหาวิทยาลัย รองลงมา คือ ทฤษฎีการบริหารในส่วนของการพัฒนาภาวะผู้นำและพฤติกรรมองค์การ ทฤษฎีนโยบายสาธารณะในส่วนของการให้บริการสาธารณะ และทฤษฎีการมีส่วนร่วมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26552 SIU THE-T. ธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย = Governance of the University Administrators in the Public University, Autonomous Public University and Private University in Southern Thailand [printed text] / สุดสาคร สิงห์ทอง, Author ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name ; จารุภัทร เรืองสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 256 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารรัฐกิจ -- แง่ศีลธรรมจรรยา
[LCSH]ธรรมรัฐ
[LCSH]ธรรมรัฐ -- วิจัย -- ไทย (ภาคใต้)Keywords: ธรรมาภิบาล
ผู้บริหารมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยAbstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับธรรมาภิบาล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อธรรมาภิบาล และปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานแล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐและมหาวิทยาลัยเอกชนในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นการวิจัยแบบผสม หน่วยวิเคราะห์ คือ บุคลากรของมหาวิทยาลัยในภาคใต้ จำนวน 5 แห่ง ประชากรและ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 244 คน สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ความถี่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน ไคว์สแควร์ การเปรียบเทียบพหุสหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอย โดยโปรแกรม SPSS
ผลการวิจัยพบว่า
1. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ยกเว้นด้าน ความโปร่งใส อยู่ในระดับปานกลาง
2. ตัวแปรอิสระมีความสัมพันธ์เชิงบวกสูงกับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
3. ระดับธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยเอกชนสูงกว่ามหาวิทยาลัยของรัฐและมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .05
4. ตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปร เรียงตามความสำคัญคือ ความสามารถในการกำหนดนโยบายและการนำนโยบายไปปฏิบัติ ประสิทธิภาพการบริหารงานอย่างคุ้มค่า ภาวะผู้นำของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ความสามารถและความพร้อมในการปฏิบัติงาน และการติดต่อสื่อสารในการปฏิบัติงาน เป็นชุดตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการอธิบายธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย ได้ร้อยละ 54.0 โดยมีความคลาดเคลื่อนของการทำนายเท่ากับ 9.119 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น .01
5. ปัจจัยทางทฤษฎีที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงาน แล้วส่งผลต่อธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัย มีการจัดลำดับความสำคัญแตกต่างกันในทุกมหาวิทยาลัย โดยทฤษฎีธรรมาภิบาลได้รับการนำมาใช้ในลำดับแรกเกือบทุกมหาวิทยาลัย รองลงมา คือ ทฤษฎีการบริหารในส่วนของการพัฒนาภาวะผู้นำและพฤติกรรมองค์การ ทฤษฎีนโยบายสาธารณะในส่วนของการให้บริการสาธารณะ และทฤษฎีการมีส่วนร่วมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26552 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591998 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08 c.1 Thesis Graduate Library Thesis Corner Due for return by 10/30/2024 32002000593788 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available