From this page you can:
Home |
Author details
Author หมั่นการ วิพัฒน์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesSIU Thesis. สัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย / วิพัฒน์ หมั่นการ / สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2559
Collection Title: SIU Thesis Title : สัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย Original title : Research achievement of university lectures in Thailand Material Type: printed text Authors: วิพัฒน์ หมั่นการ, Author ; วรเดช จันทรศร, Author Publisher: สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2559 Pagination: x, 111 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สัมฤทธิผลการวิจัย
[LCSH]สัมฤทธิผลการวิจัย -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]อาจารย์มหาวิทยาลัย -- การวิจัย -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: การวิจัยของอาจารย์
สัมฤทธิผลการวิจัย.
อาจารย์มหาวิทยาลัย.Class number: SIU THE-T IPAG-DPA-2016-03 Abstract: ทำการศึกษาระดับของสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 185 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราประเมินค่า ค่าความเชื่อมั่นมากกว่าระดับ.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า อาจารย์มหาวิทยาลัยไทยที่ปฏิบัติหน้าที่สอนในคณะบริหารธุรกิจ หรือการจัดการมีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยที่ระดับน้อยที่สุด หรือไม่ประสบความสำเร็จในการนำนโยบายด้านการวิจัยไปปฏิบัติ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มมหาวิทยาลัย พบว่า มีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยทั้ง 5 กลุ่ม มีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยที่ระดับน้อยถึงน้อยที่สุด และ 2 การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน พบว่า ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอก อุดมการณ์ของการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย การพัฒนาความสามารถด้านการวิจัยของอาจารย์ สิ่งจูงใจ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร และด้านการสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางตรงต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3 การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์ไทย ประกอบด้วย ด้านการสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอก ด้านอุดมการณ์ของการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย และด้านการสื่อสารตามลำดับ ส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยได้ร้อยละ 46.2 ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้องกับตัวแบบทางทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติของวรเดช จันทรศร ตัวแบบเชิงบูรณาการContents note: ปีการศึกษา 2558.
ปีพิมพ์เอกสาร 2559.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25886 SIU Thesis. สัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย = Research achievement of university lectures in Thailand [printed text] / วิพัฒน์ หมั่นการ, Author ; วรเดช จันทรศร, Author . - [S.l.] : สถาบันรัฐประศาสนศาสตร์และธรรมาภิบาล มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559 . - x, 111 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สัมฤทธิผลการวิจัย
[LCSH]สัมฤทธิผลการวิจัย -- ดุษฎีนิพนธ์
[LCSH]อาจารย์มหาวิทยาลัย -- การวิจัย -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: การวิจัยของอาจารย์
สัมฤทธิผลการวิจัย.
อาจารย์มหาวิทยาลัย.Class number: SIU THE-T IPAG-DPA-2016-03 Abstract: ทำการศึกษาระดับของสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 185 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราประเมินค่า ค่าความเชื่อมั่นมากกว่าระดับ.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า อาจารย์มหาวิทยาลัยไทยที่ปฏิบัติหน้าที่สอนในคณะบริหารธุรกิจ หรือการจัดการมีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยที่ระดับน้อยที่สุด หรือไม่ประสบความสำเร็จในการนำนโยบายด้านการวิจัยไปปฏิบัติ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มมหาวิทยาลัย พบว่า มีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยทั้ง 5 กลุ่ม มีสัมฤทธิผลด้านการวิจัยที่ระดับน้อยถึงน้อยที่สุด และ 2 การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน พบว่า ปัจจัยด้านการสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอก อุดมการณ์ของการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย การพัฒนาความสามารถด้านการวิจัยของอาจารย์ สิ่งจูงใจ ภาวะผู้นำของผู้บริหาร และด้านการสื่อสารมีความสัมพันธ์ทางตรงต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3 การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์ไทย ประกอบด้วย ด้านการสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอก ด้านอุดมการณ์ของการเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัย และด้านการสื่อสารตามลำดับ ส่งผลต่อสัมฤทธิผลด้านการวิจัยของอาจารย์มหาวิทยาลัยได้ร้อยละ 46.2 ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้องกับตัวแบบทางทฤษฎีการนำนโยบายไปปฏิบัติของวรเดช จันทรศร ตัวแบบเชิงบูรณาการContents note: ปีการศึกษา 2558.
ปีพิมพ์เอกสาร 2559.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25886 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550788 SIU THE-T IPAG-DPA-2016-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550838 SIU THE-T IPAG-DPA-2016-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available