From this page you can:
Home |
Author details
Author ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว / อณัศยา ซื่อตรง in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว Material Type: printed text Authors: อณัศยา ซื่อตรง, Author ; ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.58-80 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.58-80Keywords: ผู้สูงอายุ.หัวใจล้มเหลว.คุณภาพชีวิต. Abstract: การวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว และปัจจัยด้าน เพศ อายุ ความรุนแรงของโรค ภาวะโรคร่วม ภาวะซึมเศร้า การสนับสนุนทางสังคม ในการทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีภาวะหัวใจล้มเหลว มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกอายุรกรรมหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และโรงพยาบาลตำรวจ จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดระดับความรุนแรงของโรค แบบประเมินภาวะซึมเศร้า แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม และแบบประเมินคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.50 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 74.28 ปี กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 73.34 มีโรคร่วมตั้งแต่ 3 โรคขึ้นไป ร้อยละ 54.17 มีความรุนแรงของภาวะหัวใจล้มเหลวในระดับน้อย ร้อยละ 60.80 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง เพศ ภาวะโรคร่วม ความรุนแรงของโรค ภาวะซึมเศร้า และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต (p < .05) และภาวะซึมเศร้าสามารถทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวได้มากที่สุดโดยมีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐาน เท่ากับ 0.66 รองลงมาได้แก่ ความรุนแรงของโรค การสนับสนุนทางสังคมและภาวะโรคร่วม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐาน เท่ากับ 0.26, 0.17 และ 0.15 ตามลำดับ และสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ 53 (R2 = .53)
สรุปผลการศึกษา บุคลากรทางด้านสุขภาพควรให้ความสำคัญในการประเมินและป้องกันภาวะซึมเศร้ารวมทั้งส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างจริงจังLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27489 [article] ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว [printed text] / อณัศยา ซื่อตรง, Author ; ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์, Author . - 2017 . - p.58-80.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.58-80Keywords: ผู้สูงอายุ.หัวใจล้มเหลว.คุณภาพชีวิต. Abstract: การวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว และปัจจัยด้าน เพศ อายุ ความรุนแรงของโรค ภาวะโรคร่วม ภาวะซึมเศร้า การสนับสนุนทางสังคม ในการทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว
กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป มีภาวะหัวใจล้มเหลว มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกอายุรกรรมหัวใจและหลอดเลือด โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และโรงพยาบาลตำรวจ จำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดระดับความรุนแรงของโรค แบบประเมินภาวะซึมเศร้า แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม และแบบประเมินคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยหัวใจล้มเหลว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.50 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 74.28 ปี กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 73.34 มีโรคร่วมตั้งแต่ 3 โรคขึ้นไป ร้อยละ 54.17 มีความรุนแรงของภาวะหัวใจล้มเหลวในระดับน้อย ร้อยละ 60.80 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับปานกลาง เพศ ภาวะโรคร่วม ความรุนแรงของโรค ภาวะซึมเศร้า และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต (p < .05) และภาวะซึมเศร้าสามารถทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวได้มากที่สุดโดยมีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐาน เท่ากับ 0.66 รองลงมาได้แก่ ความรุนแรงของโรค การสนับสนุนทางสังคมและภาวะโรคร่วม โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐาน เท่ากับ 0.26, 0.17 และ 0.15 ตามลำดับ และสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ 53 (R2 = .53)
สรุปผลการศึกษา บุคลากรทางด้านสุขภาพควรให้ความสำคัญในการประเมินและป้องกันภาวะซึมเศร้ารวมทั้งส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างจริงจังLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27489 ผลของโปรแกรมการใช้ดนตรีบำบัดร่วมกับการสนับสนุนทางสังคม ต่อภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคพาร์กินสัน / ภูริพงษ์ เจริญแพทย์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการใช้ดนตรีบำบัดร่วมกับการสนับสนุนทางสังคม ต่อภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคพาร์กินสัน Original title : Impact of co-application of music therapy and social support on depression in elderly Pakinson's disease patients Material Type: printed text Authors: ภูริพงษ์ เจริญแพทย์, Author ; ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.44-55 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.44-55Keywords: ผลของโปรแกรม.การใช้ดนตรีบำบัด.ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ.โรคพาร์กินสัน Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25649 [article] ผลของโปรแกรมการใช้ดนตรีบำบัดร่วมกับการสนับสนุนทางสังคม ต่อภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคพาร์กินสัน = Impact of co-application of music therapy and social support on depression in elderly Pakinson's disease patients [printed text] / ภูริพงษ์ เจริญแพทย์, Author ; ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์, Author . - 2016 . - p.44-55.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.44-55Keywords: ผลของโปรแกรม.การใช้ดนตรีบำบัด.ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ.โรคพาร์กินสัน Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25649