From this page you can:
Home |
Author details
Author ทิพา ต่อสกุลแก้ว
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย / นภาพร วาณิชย์กุล in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย : โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ/หรือความดันโลหิตสูง Original title : Health Literacy, Health Education Outcomes and Social Influence, and Their Relationships with Type-2 Diabetes and/or Hypertension Patients’ Clinical Outcomes* Material Type: printed text Authors: นภาพร วาณิชย์กุล, Author ; สุขมาพร พึ่งผาสุก, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author ; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.111-115 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.111-115Keywords: ความแตกฉานทางสุขภาพ. ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ. อิทธิพลทางสังคมผลลัพธ์ทางคลินิก. เบาหวานชนิดที่ 2. ความดันโลหิตสูง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจาก
การได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม กับผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูงการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 ราย เป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูง ของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและผลลัพธ์ทางคลินิก แบบสอบถามความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 60.8 ปี (SD =12.3)57.1% เป็นเพศหญิง และมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 2 โรค (67.8%) สามารถควบคุมโรคได้ดี 38.6% มีความแตกฉานทางสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (mean ± SD = 2.25 ± 0.65 คะแนน) ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอยู่ในระดับสูง (mean ± SD = 3.57 ± 0.43 คะแนน) อิทธิพลทางสังคมมีระดับปานกลาง(mean ± SD = 2.53 + 0.4 คะแนน) และผลลัพธ์ทางคลินิกอยู่ในระดับต่ำ (mean ± SD = 1.36 ± 1.5)ความแตกฉานทางสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม และผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลลัพธ์ทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางการแพทย์ควรประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม ของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการพยาบาลในการพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27359 [article] ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย = Health Literacy, Health Education Outcomes and Social Influence, and Their Relationships with Type-2 Diabetes and/or Hypertension Patients’ Clinical Outcomes* : โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ/หรือความดันโลหิตสูง [printed text] / นภาพร วาณิชย์กุล, Author ; สุขมาพร พึ่งผาสุก, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author ; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, Author . - 2017 . - p.111-115.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.111-115Keywords: ความแตกฉานทางสุขภาพ. ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ. อิทธิพลทางสังคมผลลัพธ์ทางคลินิก. เบาหวานชนิดที่ 2. ความดันโลหิตสูง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจาก
การได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม กับผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูงการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 ราย เป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูง ของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและผลลัพธ์ทางคลินิก แบบสอบถามความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 60.8 ปี (SD =12.3)57.1% เป็นเพศหญิง และมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 2 โรค (67.8%) สามารถควบคุมโรคได้ดี 38.6% มีความแตกฉานทางสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (mean ± SD = 2.25 ± 0.65 คะแนน) ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอยู่ในระดับสูง (mean ± SD = 3.57 ± 0.43 คะแนน) อิทธิพลทางสังคมมีระดับปานกลาง(mean ± SD = 2.53 + 0.4 คะแนน) และผลลัพธ์ทางคลินิกอยู่ในระดับต่ำ (mean ± SD = 1.36 ± 1.5)ความแตกฉานทางสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม และผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลลัพธ์ทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางการแพทย์ควรประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม ของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการพยาบาลในการพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27359 ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา อายุ โรคร่วมกับผลลัพธ์การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉินในผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่ / ไกรศร จันทร์นฤมิตร in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 ([05/21/2016])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา อายุ โรคร่วมกับผลลัพธ์การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉินในผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่ Original title : Correlation between adult patient's emergency room discharge destination and the factors of physiological deterioration severity age and comrbidity Material Type: printed text Authors: ไกรศร จันทร์นฤมิตร, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ปรางค์ทิพย์ ฉายพุทธ, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.123-131 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.123-131Keywords: ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรง.การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา.อายุ.โรคร่วม.การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉิน.ผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่. Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25644 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา อายุ โรคร่วมกับผลลัพธ์การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉินในผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่ = Correlation between adult patient's emergency room discharge destination and the factors of physiological deterioration severity age and comrbidity [printed text] / ไกรศร จันทร์นฤมิตร, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ปรางค์ทิพย์ ฉายพุทธ, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author . - 2016 . - p.123-131.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร / ชนุตพร รัตนมงคล in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร : ตับ ทางเดินน้ำดี ที่ลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง Material Type: printed text Authors: ชนุตพร รัตนมงคล, Author ; ศิีริอร สินธุ, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.97-109 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.97-109Keywords: ความรุนแรงภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด. การผ่าตัดช่องท้อง. มะเร็งระบบทางเดิน. อาหารชนิดปฐมภูมิ Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาความชุกของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด และ
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการผ่าตัด ปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัด ระยะของโรคมะเร็ง
ภาวะโรคร่วม ภาวะโภชนาการก่อนผ่าตัด ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัดกับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยแบบบรรยายเชิงหาความสัมพันธ์ (descriptive correlation study)
วิธีการดาเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร ตับ
ทางเดินน้ำดี ลำไส้ใหญ่และ ลำไส้ตรง เข้ารับการผ่าตัดในโรงพยาบาลตติยภูมิ 3 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่าง
ตามเกณฑ์คัดเข้าที่กำหนด จำนวน 87 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินภาวะโรคร่วม แบบคัดกรองภาวะโภชนาการ แบบประเมินความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า และแบบประเมินความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยสถิติเชิงบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยสถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมน
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 62.1 มีอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 43.7 เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดความรุนแรงระดับ 1 ร้อยละ 48.3 มีระยะเวลาการผ่าตัด 3-6 ชั่วโมง ร้อยละ 70.1 มีปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัดน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ร้อยละ 44.8 เป็นมะเร็งระยะที่ 3 และร้อยละ 41.4
ไม่มีภาวะโรคร่วม ร้อยละ 81.6 มีความเสี่ยงทางโภชนาการ(NRS >3) ร้อยละ 66.7 อยู่ในกลุ่มมีความวิตกกังวลสูงมาก (HADS-A = 11-21) และร้อยละ 48.3 อยู่ในกลุ่มมีภาวะซึมเศร้าระดับสูงแต่ยังไม่มีความผิดปกติทางจิต (HADS-D = 8-10) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ได้แก่ ปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัด ภาวะโภชนาการ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัด(r = .260, .281, .449, .349; p < .05) ตามลำดับ
ข้อเสนอแนะ : ผู้ป่วยมะเร็งที่รับการผ่าตัดช่องท้องแบบเปิดควรประเมินความเสี่ยงทางโภชนาการ
ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัดและเพิ่มการเฝ้าระวังในรายที่มีปริมาณการเสียเลือด
ขณะผ่าตัดมาก ความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในระยะหลัง และการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดที่รุนแรงมากกว่าระดับ 2 ขึ้นไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27046 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร : ตับ ทางเดินน้ำดี ที่ลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง [printed text] / ชนุตพร รัตนมงคล, Author ; ศิีริอร สินธุ, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author . - 2016 . - p.97-109.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.97-109Keywords: ความรุนแรงภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด. การผ่าตัดช่องท้อง. มะเร็งระบบทางเดิน. อาหารชนิดปฐมภูมิ Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาความชุกของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด และ
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการผ่าตัด ปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัด ระยะของโรคมะเร็ง
ภาวะโรคร่วม ภาวะโภชนาการก่อนผ่าตัด ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัดกับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
การออกแบบการวิจัย : การวิจัยแบบบรรยายเชิงหาความสัมพันธ์ (descriptive correlation study)
วิธีการดาเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งชนิดปฐมภูมิของกระเพาะอาหาร ตับ
ทางเดินน้ำดี ลำไส้ใหญ่และ ลำไส้ตรง เข้ารับการผ่าตัดในโรงพยาบาลตติยภูมิ 3 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่าง
ตามเกณฑ์คัดเข้าที่กำหนด จำนวน 87 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินภาวะโรคร่วม แบบคัดกรองภาวะโภชนาการ แบบประเมินความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้า และแบบประเมินความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยสถิติเชิงบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรโดยสถิติสหสัมพันธ์สเปียร์แมน
ผลการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 62.1 มีอายุมากกว่า 60 ปี ร้อยละ 43.7 เกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดความรุนแรงระดับ 1 ร้อยละ 48.3 มีระยะเวลาการผ่าตัด 3-6 ชั่วโมง ร้อยละ 70.1 มีปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัดน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ร้อยละ 44.8 เป็นมะเร็งระยะที่ 3 และร้อยละ 41.4
ไม่มีภาวะโรคร่วม ร้อยละ 81.6 มีความเสี่ยงทางโภชนาการ(NRS >3) ร้อยละ 66.7 อยู่ในกลุ่มมีความวิตกกังวลสูงมาก (HADS-A = 11-21) และร้อยละ 48.3 อยู่ในกลุ่มมีภาวะซึมเศร้าระดับสูงแต่ยังไม่มีความผิดปกติทางจิต (HADS-D = 8-10) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด ได้แก่ ปริมาณการเสียเลือดขณะผ่าตัด ภาวะโภชนาการ ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัด(r = .260, .281, .449, .349; p < .05) ตามลำดับ
ข้อเสนอแนะ : ผู้ป่วยมะเร็งที่รับการผ่าตัดช่องท้องแบบเปิดควรประเมินความเสี่ยงทางโภชนาการ
ความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าก่อนผ่าตัดและเพิ่มการเฝ้าระวังในรายที่มีปริมาณการเสียเลือด
ขณะผ่าตัดมาก ความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดในระยะหลัง และการเกิดภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดที่รุนแรงมากกว่าระดับ 2 ขึ้นไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27046