From this page you can:
Home |
Author details
Author อรพรรณ โตสิงห์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการพยาบาลผู้ป่วยทางออร์โธปิดิกส์ / อรพรรณ โตสิงห์ / กรุงเทพฯ : โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - 2559
Title : การพยาบาลผู้ป่วยทางออร์โธปิดิกส์ Material Type: printed text Authors: อรพรรณ โตสิงห์, Editor ; พรสินี เต็งพานิชกุล, Editor ; ธิราวรรณ เชื้อตาเล็ง, Editor ; ณัฐมา ทองธีรธรรม, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพฯ : โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2559 Pagination: (10), 198 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม. Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279945-7 Price: 250.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]Orthopedic nursing
[NLM]กระดูก -- โรค
[NLM]การพยาบาลศัลยศาสตร์
[NLM]การพยาบาลออร์โทพีดิกส์Class number: WY157.6 ก492 2559 Contents note: (10), 198 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
Contents บทที่ 1 การประเมินสภาพผู้ที่มีปัญหาทางออร์โธปิดิกส์ -- บทที่ 2 การตรวจร่างกายทางออร์โธิปิดิกส์ในรยางค์ส่วนบน -- บทที่ 3 การตรวจร่างกายทางออร์โธปิดิกส์ในส่วนเชิงกรานและข้อสะโพก -- บทที่ 4 การตรวจร่างกายทางออร์โธปิดิกส์ในส่วนข้อเข่า ข้อเท้า -- บทที่ 5 การตรวจร่างกายทางออร์โธปิดิกส์ในส่วนกระดูกสันหลัง -- บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บที่กระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ -- บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหัก ข้อเคลื่อนที่ใส่ external device -- บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักที่ได้รับการผ่าตัด -- บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกพรุน -- บทที่ 10 การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม -- บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม -- บทที่ 12 การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดกระดูกสันหลังCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27798 การพยาบาลผู้ป่วยทางออร์โธปิดิกส์ [printed text] / อรพรรณ โตสิงห์, Editor ; พรสินี เต็งพานิชกุล, Editor ; ธิราวรรณ เชื้อตาเล็ง, Editor ; ณัฐมา ทองธีรธรรม, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ : โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2559 . - (10), 198 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม. : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-279945-7 : 250.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]Orthopedic nursing
[NLM]กระดูก -- โรค
[NLM]การพยาบาลศัลยศาสตร์
[NLM]การพยาบาลออร์โทพีดิกส์Class number: WY157.6 ก492 2559 Contents note: (10), 198 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
Contents บทที่ 1 การประเมินสภาพผู้ที่มีปัญหาทางออร์โธปิดิกส์ -- บทที่ 2 การตรวจร่างกายทางออร์โธิปิดิกส์ในรยางค์ส่วนบน -- บทที่ 3 การตรวจร่างกายทางออร์โธปิดิกส์ในส่วนเชิงกรานและข้อสะโพก -- บทที่ 4 การตรวจร่างกายทางออร์โธปิดิกส์ในส่วนข้อเข่า ข้อเท้า -- บทที่ 5 การตรวจร่างกายทางออร์โธปิดิกส์ในส่วนกระดูกสันหลัง -- บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยบาดเจ็บที่กระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ -- บทที่ 7 การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหัก ข้อเคลื่อนที่ใส่ external device -- บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักที่ได้รับการผ่าตัด -- บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกพรุน -- บทที่ 10 การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม -- บทที่ 11 การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม -- บทที่ 12 การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดกระดูกสันหลังCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27798 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000524890 WY157.6 ก492 2559 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000524924 WY157.6 ก492 2559 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000524874 WY157.6 ก492 2559 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000524916 WY157.6 ก492 2559 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000524858 WY157.6 ก492 2559 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000524908 WY157.6 ก492 2559 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000524882 WY157.6 ก492 2559 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000524767 WY157.6 ก492 2559 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000524940 WY157.6 ก492 2559 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Due for return by 11/22/2024 32002000524932 WY157.6 ก492 2559 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Available Readers who borrowed this document also borrowed:
ตำราการตรวจรักษาทั่วไป 2 สุรเกียรติ อาชานานุภาพ Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-) การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น วราภรณ์ บุญเชียง การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น วราภรณ์ บุญเชียง การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง / ศุภศิริิ เชียงตา in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง : ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล Material Type: printed text Authors: ศุภศิริิ เชียงตา, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ภาวิน เกษกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-48 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.31-48Keywords: วามต้องการ. การดูแลแบบประคับประคอง. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. ผู้ดูแล. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: ศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแลก่อนและหลังได้รับการรักษาการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล กลุ่มละ 45 รายที่รักษาตัวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบสอบถามปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยและญาติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนผลการวิจัย: ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินมากเป็นอันดับแรก (22.2%) ในช่วงก่อนรักษา และต้องการการดูแลด้านข้อมูลมากเป็นอันดับแรก (20%) ในช่วงหลังได้รับการรักษาสำาหรับผู้ดูแลพบว่ามีความต้องการความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้ป่วยมากเป็นอันดับแรกทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (15.6% และ 11.1%) ความต้องการการดูแลโดยรวมของผู้ป่วยและผู้ดูแลสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (rs= .47, rs= .46, p < .01)ส่วนความสัมพันธ์รายด้านพบว่าก่อนได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการการดูแลด้านสังคมและด้านการเงินสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .36, p < .05, rs= .52, p < .01) และภายหลังได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณและด้านการเงินสัมพันธ์กันมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .34, p < .05, rs= .39, p < .01 ตามลำาดับ)ข้อเสนอแนะ: พยาบาลมีบทบาทสำาคัญในการประเมินปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยและผู้ดูแลทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้คำาปรึกษาตลอดจนแก้ไขปัญหา นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองสำาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลกลุ่มนี้คำสำคัญ: ความต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผู้ดูแล
Objective: To examine head & neck cancer patients’ pre- and post-treatment needs for palliative care and their relationship with their caregivers. Design: Correlational descriptive research.
Methodology: The participants were 45 head & neck cancer patients and their caregivers. The patients were hospitalised at a tertiary hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (i) a general information and illness history form; and (ii) a
palliative care problem-and-need questionnaire for the patients and their caregivers. The data were analysed using descriptive statistics and Spearman Correlation Analysis.
Results: The study showed that the patients’ primary pre-treatment need was fnancial support (22.2%), whilst their primary post-treatment need was disease-related information (20%). Their caregivers, on the other hand, identifed palliative care assistance for the patients as their primary need, both before and after treatment (15.6% and 11.1%, respectively).
A statically signifcant relationship was found between the patients’ and their caregivers’
overall pre- and post-treatment palliative care needs (rs = .47, rs = .46, p < .01). Category-based analysis showed that both the patients’ and their caregivers’ primary
pre-treatment needs were signifcantly related, and they mainly concerned social and fnancial support (rs = .36, p < .05, rs = .52, p < .01, respectively). After treatment, a statistically signifcant
relationship was also found between the patients’ and their caregivers’ needs, which mainly concerned spiritual and fnancial support (rs = .34, p < .05, rs = .39, p < .01, respectively).
Recommendations: It is suggested that nurses play an active role in assessing patients’ pre- and post-treatment problems and palliative care needs. This practice could lead to more effective counselling and problem-solving approaches, which ultimately could improve palliative care methods for head & neck cancer patients.
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27296 [article] การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง : ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล [printed text] / ศุภศิริิ เชียงตา, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ภาวิน เกษกุล, Author . - 2017 . - p.31-48.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.31-48Keywords: วามต้องการ. การดูแลแบบประคับประคอง. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. ผู้ดูแล. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: ศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแลก่อนและหลังได้รับการรักษาการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล กลุ่มละ 45 รายที่รักษาตัวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบสอบถามปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยและญาติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนผลการวิจัย: ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินมากเป็นอันดับแรก (22.2%) ในช่วงก่อนรักษา และต้องการการดูแลด้านข้อมูลมากเป็นอันดับแรก (20%) ในช่วงหลังได้รับการรักษาสำาหรับผู้ดูแลพบว่ามีความต้องการความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้ป่วยมากเป็นอันดับแรกทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (15.6% และ 11.1%) ความต้องการการดูแลโดยรวมของผู้ป่วยและผู้ดูแลสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (rs= .47, rs= .46, p < .01)ส่วนความสัมพันธ์รายด้านพบว่าก่อนได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการการดูแลด้านสังคมและด้านการเงินสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .36, p < .05, rs= .52, p < .01) และภายหลังได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณและด้านการเงินสัมพันธ์กันมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .34, p < .05, rs= .39, p < .01 ตามลำาดับ)ข้อเสนอแนะ: พยาบาลมีบทบาทสำาคัญในการประเมินปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยและผู้ดูแลทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้คำาปรึกษาตลอดจนแก้ไขปัญหา นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองสำาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลกลุ่มนี้คำสำคัญ: ความต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผู้ดูแล
Objective: To examine head & neck cancer patients’ pre- and post-treatment needs for palliative care and their relationship with their caregivers. Design: Correlational descriptive research.
Methodology: The participants were 45 head & neck cancer patients and their caregivers. The patients were hospitalised at a tertiary hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (i) a general information and illness history form; and (ii) a
palliative care problem-and-need questionnaire for the patients and their caregivers. The data were analysed using descriptive statistics and Spearman Correlation Analysis.
Results: The study showed that the patients’ primary pre-treatment need was fnancial support (22.2%), whilst their primary post-treatment need was disease-related information (20%). Their caregivers, on the other hand, identifed palliative care assistance for the patients as their primary need, both before and after treatment (15.6% and 11.1%, respectively).
A statically signifcant relationship was found between the patients’ and their caregivers’
overall pre- and post-treatment palliative care needs (rs = .47, rs = .46, p < .01). Category-based analysis showed that both the patients’ and their caregivers’ primary
pre-treatment needs were signifcantly related, and they mainly concerned social and fnancial support (rs = .36, p < .05, rs = .52, p < .01, respectively). After treatment, a statistically signifcant
relationship was also found between the patients’ and their caregivers’ needs, which mainly concerned spiritual and fnancial support (rs = .34, p < .05, rs = .39, p < .01, respectively).
Recommendations: It is suggested that nurses play an active role in assessing patients’ pre- and post-treatment problems and palliative care needs. This practice could lead to more effective counselling and problem-solving approaches, which ultimately could improve palliative care methods for head & neck cancer patients.
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27296 ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา อายุ โรคร่วมกับผลลัพธ์การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉินในผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่ / ไกรศร จันทร์นฤมิตร in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 ([05/21/2016])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา อายุ โรคร่วมกับผลลัพธ์การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉินในผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่ Original title : Correlation between adult patient's emergency room discharge destination and the factors of physiological deterioration severity age and comrbidity Material Type: printed text Authors: ไกรศร จันทร์นฤมิตร, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ปรางค์ทิพย์ ฉายพุทธ, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.123-131 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.123-131Keywords: ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรง.การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา.อายุ.โรคร่วม.การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉิน.ผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่. Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25644 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา อายุ โรคร่วมกับผลลัพธ์การจำหน่ายออกจากห้องฉุกเฉินในผู้ป่วยฉุกเฉินผู้ใหญ่ = Correlation between adult patient's emergency room discharge destination and the factors of physiological deterioration severity age and comrbidity [printed text] / ไกรศร จันทร์นฤมิตร, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ปรางค์ทิพย์ ฉายพุทธ, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author . - 2016 . - p.123-131.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว / พรทิพา ทองมา in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว : ในผู้ป่วยหลังทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิด Material Type: printed text Authors: พรทิพา ทองมา, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ศิริอร สินธุ, Author ; วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.114-126 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.114-126Keywords: หัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว.การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.ผู้ป่วยที่ได้รับการทำหัวใจแบบเปิด. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิดจำนวน 150 ราย ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย และการรักษา แบบบันทึกอัตราการกรองของเสียที่ไต แบบประเมินกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย และแบบประเมินการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสถิติวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติค
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และสามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วได้แก่ คะแนนของกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกายมากกว่าหรือเท่ากับ 2 คะแนนขึ้นไป (odds ratio, 4.869; 95% CI, 2.277-10.408; p < 0.001) อายุ 50- 60 ปี (odds ratio, 3.542; 95% CI, 0.987-12.703; p=0.041) และระยะเวลาการใช้เครื่องหัวใจ และปอดเทียม >150 นาที (odds, ratio,3.123; 95% CI, 1.276-7.644; p=0.010)
ผลการวิจัยเสนอแนะว่าพยาบาลควรนำปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดมาพัฒนาเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาลไปใช้เป็นแนวทางการประเมินผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27493 [article] ปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว : ในผู้ป่วยหลังทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิด [printed text] / พรทิพา ทองมา, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ศิริอร สินธุ, Author ; วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร, Author . - 2017 . - p.114-126.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.114-126Keywords: หัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว.การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด.ผู้ป่วยที่ได้รับการทำหัวใจแบบเปิด. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิด
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการทำผ่าตัดหัวใจแบบเปิดจำนวน 150 ราย ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย และการรักษา แบบบันทึกอัตราการกรองของเสียที่ไต แบบประเมินกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกาย และแบบประเมินการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสถิติวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติค
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์และสามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วได้แก่ คะแนนของกลุ่มอาการการตอบสนองต่อการอักเสบทั่วร่างกายมากกว่าหรือเท่ากับ 2 คะแนนขึ้นไป (odds ratio, 4.869; 95% CI, 2.277-10.408; p < 0.001) อายุ 50- 60 ปี (odds ratio, 3.542; 95% CI, 0.987-12.703; p=0.041) และระยะเวลาการใช้เครื่องหัวใจ และปอดเทียม >150 นาที (odds, ratio,3.123; 95% CI, 1.276-7.644; p=0.010)
ผลการวิจัยเสนอแนะว่าพยาบาลควรนำปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้วหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดมาพัฒนาเป็นแนวปฏิบัติทางการพยาบาลไปใช้เป็นแนวทางการประเมินผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจแบบเปิดLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27493 ผลของการใช้แนวปฏิบัติในการจัดการภาวะไข้ร่วมกับการใช้ผ้าเย็นโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ต่อภาวะไข้ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก / กาญเขตร์ ทรัพย์สอาด in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 ([05/21/2016])
[article]
Title : ผลของการใช้แนวปฏิบัติในการจัดการภาวะไข้ร่วมกับการใช้ผ้าเย็นโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ต่อภาวะไข้ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก Material Type: printed text Authors: กาญเขตร์ ทรัพย์สอาด, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวิทย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; สุขสันต์ เดชาพิสุทธิ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.109---122 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.109---122Keywords: การจัดการภาวะไข้.การใช้ผ้าเย็รโพลีไวนิลแอลกอฮอล์.แนวทางการปฏิบัติ. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25643 [article] ผลของการใช้แนวปฏิบัติในการจัดการภาวะไข้ร่วมกับการใช้ผ้าเย็นโพลีไวนิลแอลกอฮอล์ต่อภาวะไข้ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก [printed text] / กาญเขตร์ ทรัพย์สอาด, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวิทย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; สุขสันต์ เดชาพิสุทธิ์, Author . - 2016 . - p.109---122.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.2 (Apr-Jun) 2016/59 [05/21/2016] . - p.109---122Keywords: การจัดการภาวะไข้.การใช้ผ้าเย็รโพลีไวนิลแอลกอฮอล์.แนวทางการปฏิบัติ. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25643