From this page you can:
Home |
Author details
Author สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม / สาคร เหล็กแย้ม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ Material Type: printed text Authors: สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.126-137 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 [article] การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ [printed text] / สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author . - 2017 . - p.126-137.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร / ธัญจิรา พิลาศรี in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 ([06/27/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร : พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการในผู้หญิงที่มีความเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในชุมชน Original title : Effect of behavioral modification program using community participation on food consumption behaviors alcohol consumption behaviors and nutritional status in women at risk for metabolic syndrome in communities Material Type: printed text Authors: ธัญจิรา พิลาศรี, Author ; นพวรรณ เปียชื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.10-25 General note:
1. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการของกลุ่มทดลองระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรม และ 2. เปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ใช้รูปแบบการวิจัย แบบกึ่งทดลอง ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้หญิงที่มีความเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในชุมชน 2 แห่ง ของจังหวัดสุรินทร์ เป็นกลุ่มควบคุม 35 ราย และกลุ่มทดลอง 35 ราย ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย สถิติที และสถิติแมนวิทนีย์ อู ผลการวิจัย 1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p น้อยกว่า .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของกลุ่มทดลองในระยะหลักทดลองดีกว่าก่อนทดลอง (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p เท่ากับ .02) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3. ภาวะโภชนาการ ได้แก่ เส้นรอบเอว ระดับน้ำตาลในเลือด และไตรกลีเซอไรด์ในหลอดเลือดของกลุ่มทดลองดีกว่ากลุ่มก่อนทดลอง (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p น้อยกว่า .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุป ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะต่อพยาบาล เจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพ และเครือข่ายชุมชนในการติดตามภาวะเสี่ยงของโรคอ้วนลงพุง และส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการดูแลสุขภาพทั้งการบริโภคอาหาร การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อให้สามารถควบคุมภาวะเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 [06/27/2016] . - p.10-25Keywords: โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม.ชุมชนมีส่วนร่วม.พฤติกรรมการบริโภคอาหารพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอลฺ.ภาวะโภชนาการ.โรคอ้วนลงพุง Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25530 [article] ผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร = Effect of behavioral modification program using community participation on food consumption behaviors alcohol consumption behaviors and nutritional status in women at risk for metabolic syndrome in communities : พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการในผู้หญิงที่มีความเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในชุมชน [printed text] / ธัญจิรา พิลาศรี, Author ; นพวรรณ เปียชื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author . - 2016 . - p.10-25.
1. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการของกลุ่มทดลองระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรม และ 2. เปรียบเทียบพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และภาวะโภชนาการระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง ใช้รูปแบบการวิจัย แบบกึ่งทดลอง ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้หญิงที่มีความเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงในชุมชน 2 แห่ง ของจังหวัดสุรินทร์ เป็นกลุ่มควบคุม 35 ราย และกลุ่มทดลอง 35 ราย ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงบรรยาย สถิติที และสถิติแมนวิทนีย์ อู ผลการวิจัย 1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p น้อยกว่า .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของกลุ่มทดลองในระยะหลักทดลองดีกว่าก่อนทดลอง (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p เท่ากับ .02) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ 3. ภาวะโภชนาการ ได้แก่ เส้นรอบเอว ระดับน้ำตาลในเลือด และไตรกลีเซอไรด์ในหลอดเลือดของกลุ่มทดลองดีกว่ากลุ่มก่อนทดลอง (p น้อยกว่า .001) และดีกว่ากลุ่มควบคุม (p น้อยกว่า .001) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุป ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะต่อพยาบาล เจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพ และเครือข่ายชุมชนในการติดตามภาวะเสี่ยงของโรคอ้วนลงพุง และส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการดูแลสุขภาพทั้งการบริโภคอาหาร การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อให้สามารถควบคุมภาวะเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)