From this page you can:
Home |
Author details
Author นภมณ ยารวง
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesอาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนากับบทบาทของพยาบาลชุมชน / นภมณ ยารวง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : อาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนากับบทบาทของพยาบาลชุมชน Original title : Law back pain in rice farmers with the role of community health nurses Material Type: printed text Authors: นภมณ ยารวง, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.1-9 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.1-9Keywords: อาการปวดหลังส่วนล่าง.พยาบาลชุมชน ชาวนา -- เกษตรกร. Abstract: อาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนาเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ซึ่งเกิดจากกระบวนการทำนา เกษตราชาวนามีโอกาสสัมผัสปัจจัยคุกคามสุขภาพจากสภาพแวดล้อมการทำงาน และสภาพการทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสัมผัสปัจจัยด้านการยศาสตร์ ได้แก่ ท่าทางการทำงานที่ผิดปกติ หรือฝืนธรรมชาติ การทำงานที่ซ้ำ ไ และการทำงานที่ทำให้กล้ามเนื้อออกแรงมากเกินความสามารถในการรับน้ำหนัก ส่งผลทำให้เกิดความผิดปกติของโครงร่างและกล้ามเนื้อ โดยโฉพาะอาการปวดหลังส่วนล่างที่เป็นปัญหาเรื้อรัง ทำให้รัฐบาลต้องสูญเสียงบประมาณจำนวนมากในการรักษา ดังนั้นพยาบาลชุมชนควรมีส่วนร่วมในการป้องกันและฟื้นฟูอาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนา โดยมีบทบาทเป็นทั้งผู้ประสานงาน ผู้ให้ความรู้ ให้คำปรึกษา ผู้ช่วยเหลือ ผู้สนับสนุน ผู้แนะนำแหล่งใช้ประโยชน์ ผู้เอื้ออำนวยความสะดวก ผู้สนับสนุนความสามารถและผู้วิจัย ที่มีวิธีการเน้นทั้งปัจจัยภายในและภายนอก โดยปัจจัยภายใน ได้แก่ การส่งเสริมการรับรู้ความสามารถหรือสมรรถนะในการดูแลตนเอง การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับท่าทางในการทำงานที่ถูกต้อง การแนะนำและสาธิตการบริหารกล้ามเนื้อหลังส่วนล่าง เน้นวิธีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อหลังส่วนล่าง รวมทั้งการนั่งสมาธิก็สามารถลดอาการปวดหลังส่วนล่างได้ ส่วนปัจจัยภายนอก เน้นกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มเกษตรกรชาวนา โดยมีการจัดตั้งกลุ่มดูแลสุขภาพ ที่เป็นแกนนำที่ปฏิบัติตามคำแนะนำในกลุ่มเกษตรกรชาวนา นอกจากนี้พยาบาลชุมชนต้องใช้หลักยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพแนวใหม่โดย 1. การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล 2. การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อสุขภาพ 3. การเสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง 4. การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพและ 5. การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ที่ช่วยให้เกษตรกรชาวนาสามารถดูแลตนเองได้อย่างยั่งยืน มีการจัดการปัญหาอาการปวดหลังส่วนล่างอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25523 [article] อาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนากับบทบาทของพยาบาลชุมชน = Law back pain in rice farmers with the role of community health nurses [printed text] / นภมณ ยารวง, Author . - 2016 . - p.1-9.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.1-9Keywords: อาการปวดหลังส่วนล่าง.พยาบาลชุมชน ชาวนา -- เกษตรกร. Abstract: อาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนาเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญ ซึ่งเกิดจากกระบวนการทำนา เกษตราชาวนามีโอกาสสัมผัสปัจจัยคุกคามสุขภาพจากสภาพแวดล้อมการทำงาน และสภาพการทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสัมผัสปัจจัยด้านการยศาสตร์ ได้แก่ ท่าทางการทำงานที่ผิดปกติ หรือฝืนธรรมชาติ การทำงานที่ซ้ำ ไ และการทำงานที่ทำให้กล้ามเนื้อออกแรงมากเกินความสามารถในการรับน้ำหนัก ส่งผลทำให้เกิดความผิดปกติของโครงร่างและกล้ามเนื้อ โดยโฉพาะอาการปวดหลังส่วนล่างที่เป็นปัญหาเรื้อรัง ทำให้รัฐบาลต้องสูญเสียงบประมาณจำนวนมากในการรักษา ดังนั้นพยาบาลชุมชนควรมีส่วนร่วมในการป้องกันและฟื้นฟูอาการปวดหลังส่วนล่างในเกษตรกรชาวนา โดยมีบทบาทเป็นทั้งผู้ประสานงาน ผู้ให้ความรู้ ให้คำปรึกษา ผู้ช่วยเหลือ ผู้สนับสนุน ผู้แนะนำแหล่งใช้ประโยชน์ ผู้เอื้ออำนวยความสะดวก ผู้สนับสนุนความสามารถและผู้วิจัย ที่มีวิธีการเน้นทั้งปัจจัยภายในและภายนอก โดยปัจจัยภายใน ได้แก่ การส่งเสริมการรับรู้ความสามารถหรือสมรรถนะในการดูแลตนเอง การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับท่าทางในการทำงานที่ถูกต้อง การแนะนำและสาธิตการบริหารกล้ามเนื้อหลังส่วนล่าง เน้นวิธีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อเพิ่มความแข็งแรงให้กับกล้ามเนื้อหลังส่วนล่าง รวมทั้งการนั่งสมาธิก็สามารถลดอาการปวดหลังส่วนล่างได้ ส่วนปัจจัยภายนอก เน้นกลุ่มเพื่อนหรือกลุ่มเกษตรกรชาวนา โดยมีการจัดตั้งกลุ่มดูแลสุขภาพ ที่เป็นแกนนำที่ปฏิบัติตามคำแนะนำในกลุ่มเกษตรกรชาวนา นอกจากนี้พยาบาลชุมชนต้องใช้หลักยุทธศาสตร์การสร้างเสริมสุขภาพแนวใหม่โดย 1. การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล 2. การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อสุขภาพ 3. การเสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง 4. การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพและ 5. การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ ที่ช่วยให้เกษตรกรชาวนาสามารถดูแลตนเองได้อย่างยั่งยืน มีการจัดการปัญหาอาการปวดหลังส่วนล่างอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25523