From this page you can:
Home |
Author details
Author ตั้งปนิธานดี สุนันทา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแล / สุนันทา ตั้งปนิธานดี in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : ผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแล : เด็กกำพร้า และถูกทอดทิ้ง Original title : Effect of counseling based on Buddhist psychology on anxiety in foster parents Material Type: printed text Authors: สุนันทา ตั้งปนิธานดี, Author ; ชนมน เจนจิรวัฒน์, Author ; ปัญจศา ลี้ศิริสรรพ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.368-381 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.368-381Keywords: การให้คำปรึกษา จิตวิทยาแนวพุทธผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้งความวิตกกังวล Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้ง ใช้รูปแบบการวิจัยแบบกลุ่มเดียววัดผลเปรีัยบเทียบก่อนและหลังการทดลอง 1 ครั้ง ระหว่างการทดลอง 4 ครั้ง และหลังสิ้นสุดการทดลอง 1 ครั้ง วัดแต่ละครั้งห่างกัน 3-4 สัปดาห์ ยึดหลักการพิทักษ์สิทธิ์ และยินยอมเข้าร่วมงานวิจัยก่อนดำเนินการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างคือ แม่และน้าผู้ปฏิบัติบทบาทมารดาทดแทนในการเลี้ยงดูเด็กกำพร้า และถูกทอดทิ้ง หมู่บ้านเด็กมูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาไดทย จำนวน 11 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ดำเนินการโดยให้แม่และน้าเข้าร่วมการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธทั้งแบขบรายบุคคล และรายกลุ่ม ครั้งละประมาณ 3 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 5 ครั้ง เป็นระยะเวลา 14 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได่แก่ การให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามวัดความวิตกกังวลของสปิลเบอร์เกอร์ วิเคราะหข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติ Wilcoxon Signed -Ranks Test ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคแนนความวิตกกังวลหลังเข้าร่วมการให้คำปรึกษาครั้งที่ 1 2 3 4 และ 5 ต่ำกว่าก่อนให้คำปรึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ตังนั้รการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธควรได้รับการพิจารณในการนำมาใช้เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ปฏิบัติบทบาทมารดาทดแทนในการเลีึ้ยงดูเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้่ง อย่างไรก็ตจาม ในการศึกษาครั้งนี้ ไม่มีกลุ่มควบคุมและจำนวนตัวอย่างน้อย จึงมีข้อจำกัดในการอ้างอิงผลการวิจัยในกลุ่มอื่น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25411 [article] ผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแล = Effect of counseling based on Buddhist psychology on anxiety in foster parents : เด็กกำพร้า และถูกทอดทิ้ง [printed text] / สุนันทา ตั้งปนิธานดี, Author ; ชนมน เจนจิรวัฒน์, Author ; ปัญจศา ลี้ศิริสรรพ์, Author . - 2016 . - p.368-381.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.368-381Keywords: การให้คำปรึกษา จิตวิทยาแนวพุทธผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้งความวิตกกังวล Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธต่อความวิตกกังวลของผู้ดูแลเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้ง ใช้รูปแบบการวิจัยแบบกลุ่มเดียววัดผลเปรีัยบเทียบก่อนและหลังการทดลอง 1 ครั้ง ระหว่างการทดลอง 4 ครั้ง และหลังสิ้นสุดการทดลอง 1 ครั้ง วัดแต่ละครั้งห่างกัน 3-4 สัปดาห์ ยึดหลักการพิทักษ์สิทธิ์ และยินยอมเข้าร่วมงานวิจัยก่อนดำเนินการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่างคือ แม่และน้าผู้ปฏิบัติบทบาทมารดาทดแทนในการเลี้ยงดูเด็กกำพร้า และถูกทอดทิ้ง หมู่บ้านเด็กมูลนิธิสงเคราะห์เด็กของสภากาชาไดทย จำนวน 11 ราย คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ดำเนินการโดยให้แม่และน้าเข้าร่วมการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธทั้งแบขบรายบุคคล และรายกลุ่ม ครั้งละประมาณ 3 ชั่วโมง รวมทั้งหมด 5 ครั้ง เป็นระยะเวลา 14 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได่แก่ การให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามวัดความวิตกกังวลของสปิลเบอร์เกอร์ วิเคราะหข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติ Wilcoxon Signed -Ranks Test ผลการวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยคแนนความวิตกกังวลหลังเข้าร่วมการให้คำปรึกษาครั้งที่ 1 2 3 4 และ 5 ต่ำกว่าก่อนให้คำปรึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ตังนั้รการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาแนวพุทธควรได้รับการพิจารณในการนำมาใช้เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ปฏิบัติบทบาทมารดาทดแทนในการเลีึ้ยงดูเด็กกำพร้าและถูกทอดทิ้่ง อย่างไรก็ตจาม ในการศึกษาครั้งนี้ ไม่มีกลุ่มควบคุมและจำนวนตัวอย่างน้อย จึงมีข้อจำกัดในการอ้างอิงผลการวิจัยในกลุ่มอื่น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25411