From this page you can:
Home |
Author details
Author แสงรุ่ง ธิดารัตน์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการป้องกันและจัดการการติดเชื้อ / ธิดารัตน์ แสงรุ่ง in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([03/07/2016])
[article]
Title : การทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการป้องกันและจัดการการติดเชื้อ : ไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพ Original title : A review of evidence on prevention and management of varicella zocter infection in health care workers Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ แสงรุ่ง, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.309-321 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.309-321Keywords: โรคอีสุกอีใสเชื้อไวรัสวาริเซลลาวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสการป้องกันและจัดการบุคลากรทีมสุขภาพ Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมหลักฐานอ้างอิงทางวิชาการอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ และสรุปประเด็นสำคัญของงานวิจัยที่เกี่ยวกับแนวทางการป้องกันและจัดการการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล วิธีการศึกษาสืบค้นจากงานวิจัยที่เกั้ยวข้องที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1995-2010 จากฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์และวารสารวิชาการต่าง ๆ ได้งานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 18 เรื่อง แบ่งเป็นงานวิจัยระดับ B จำนวน 1 เรื่อง และระดับ C จำนวน 17 เรื่อง ผลการศึกษาสรุปเนื้อหาออกได้เป็น 3 ส่วน คือ 1 วิธีการคัดกรองโรคอีสุกอีใสสามารถทำนายการมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้่อไวรัสอีสุกอีใสหรือประวัติเคยได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสอีสุกอีใสในร่างกายได้ โดยยืนยันผลจากการตรวจเลือดหาแอนติบอดิชนิด IgG ต่อเชื้อไวรัสอีสุกอีใสด้วยวิธี enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) 2 วิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล ได้แก่ การให้วัคซิีนป้องกันไวรัสอีสุกอีใสบุคลากรที่ไม่เคยเป็น หรือไม่แน่ใจว่าเคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน 3 วิธีการจัดการการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล ได้แก่ การแยกผู้ป่วย การลางาน จึงต้องจ้างบุคลากรอื่นทำงานทดแทน และการใช้ยาอะไซโคลเวียร์ หรือ VZIG (varicella zoster immunoglobulin ในการรักษาผู้สัมผัสเชื้อไวรัสอีสุกอีใสและผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันในร่างกายต่ำ วิธีการจัดการเล่านี้กระทำเมื่อมีการระบาดของโรคเกิดขึ้นแล้ว ซึ่งอาจจะมีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคได้มากกว่าที่คาดไว้
Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25407 [article] การทบทวนหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับการป้องกันและจัดการการติดเชื้อ = A review of evidence on prevention and management of varicella zocter infection in health care workers : ไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพ [printed text] / ธิดารัตน์ แสงรุ่ง, Author . - 2016 . - p.309-321.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.3 (Sep-Dec) 2015 [03/07/2016] . - p.309-321Keywords: โรคอีสุกอีใสเชื้อไวรัสวาริเซลลาวัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใสการป้องกันและจัดการบุคลากรทีมสุขภาพ Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมหลักฐานอ้างอิงทางวิชาการอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ และสรุปประเด็นสำคัญของงานวิจัยที่เกี่ยวกับแนวทางการป้องกันและจัดการการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล วิธีการศึกษาสืบค้นจากงานวิจัยที่เกั้ยวข้องที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1995-2010 จากฐานข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์และวารสารวิชาการต่าง ๆ ได้งานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งหมด 18 เรื่อง แบ่งเป็นงานวิจัยระดับ B จำนวน 1 เรื่อง และระดับ C จำนวน 17 เรื่อง ผลการศึกษาสรุปเนื้อหาออกได้เป็น 3 ส่วน คือ 1 วิธีการคัดกรองโรคอีสุกอีใสสามารถทำนายการมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้่อไวรัสอีสุกอีใสหรือประวัติเคยได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสอีสุกอีใสในร่างกายได้ โดยยืนยันผลจากการตรวจเลือดหาแอนติบอดิชนิด IgG ต่อเชื้อไวรัสอีสุกอีใสด้วยวิธี enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) 2 วิธีการป้องกันการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล ได้แก่ การให้วัคซิีนป้องกันไวรัสอีสุกอีใสบุคลากรที่ไม่เคยเป็น หรือไม่แน่ใจว่าเคยเป็นโรคอีสุกอีใสมาก่อน 3 วิธีการจัดการการติดเชื้อไวรัสอีสุกอีใสของบุคลากรทีมสุขภาพในโรงพยาบาล ได้แก่ การแยกผู้ป่วย การลางาน จึงต้องจ้างบุคลากรอื่นทำงานทดแทน และการใช้ยาอะไซโคลเวียร์ หรือ VZIG (varicella zoster immunoglobulin ในการรักษาผู้สัมผัสเชื้อไวรัสอีสุกอีใสและผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันในร่างกายต่ำ วิธีการจัดการเล่านี้กระทำเมื่อมีการระบาดของโรคเกิดขึ้นแล้ว ซึ่งอาจจะมีความเสี่ยงต่อการระบาดของโรคได้มากกว่าที่คาดไว้
Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25407