From this page you can:
Home |
Author details
Author สุชาดา เตชาวาทกุล
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesบทบามพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ / สุชาดา เตชาวาทกุล in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.22 No.2 July-Dec 2015 ([02/15/2016])
[article]
Title : บทบามพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ Original title : Nursing roles for preventing preeclampsia Material Type: printed text Authors: สุชาดา เตชาวาทกุล, Author Publication Date: 2016 Article on page: หน้า 7-19 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.2 July-Dec 2015 [02/15/2016] . - หน้า 7-19Keywords: ภวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์บทบาทพยาบาล Abstract: ภาวะความดันโลหิตสูงในจตรีตั้งครรภ์เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อทั้งสตรีและทารกในครรภ์ โดยอาจทำให้สตรีตั้งครรภ์เกิดการชัก เกิดภาวะของโรคหลอกเลือดสมองอย่างฉับพลัน และกลุ่มอาการ HELLP ในขณะที่ทารกอาจเกิดภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ การคลอดก่อนกำหนด เป็นต้น ถึงแม้ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งคนนภ์ที่แท้จริง แต่ก็สามารถป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดย 1) เป้าระวังความเสี่ยง ได้แก่ การประเมินประวัติสูติกรรมในอดีต ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบิน ประวัติการเจ็บป่วย ระดับดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ การเพิ่มของน้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์ และค่าความดันโลหิต 2) ให้คำแนะนำสตีตั้งครรภ์ในการปฏิบัติเพื่อป้องภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดยพักผ่อนอย่างเพยงพอ และรับประทานอาหารที่มีเส้นใยและมีปริมาณอคลเซียมสูง 3.) ให้คำแนะนำในการปฏิบัตเพื่อลดความรุนแรง ของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดยสังเกตอาการผิดปกติ ได้อก่ ปวดศรีศะ จุกแน่นลิ้นปี่ การมองเห็นเปลียนแปลง การนับการดั้นของทารกในครรภ์อย่างสม่ำสเมอ และการฝากครรภ์ตามนัด พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัจจัยเสี่ยง ทั้งปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ ปัจจัยที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ และปัจจัยที่ได้จากการประเมินทางคลินิก เพื่อเฝ้าระวังความเสี่ยงและนำนำไปสู่การวินิจฉัยที่ทันท่วงที รวมถึงยังมีบทบาทในการให้คำแนะนำแก่สตรีครรภ์เพื่อป้องปันและลดความรุนแรงของภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ด้วย Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25388 [article] บทบามพยาบาลในการป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ = Nursing roles for preventing preeclampsia [printed text] / สุชาดา เตชาวาทกุล, Author . - 2016 . - หน้า 7-19.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.22 No.2 July-Dec 2015 [02/15/2016] . - หน้า 7-19Keywords: ภวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์บทบาทพยาบาล Abstract: ภาวะความดันโลหิตสูงในจตรีตั้งครรภ์เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อทั้งสตรีและทารกในครรภ์ โดยอาจทำให้สตรีตั้งครรภ์เกิดการชัก เกิดภาวะของโรคหลอกเลือดสมองอย่างฉับพลัน และกลุ่มอาการ HELLP ในขณะที่ทารกอาจเกิดภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ การคลอดก่อนกำหนด เป็นต้น ถึงแม้ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุการเกิดภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งคนนภ์ที่แท้จริง แต่ก็สามารถป้องกันภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดย 1) เป้าระวังความเสี่ยง ได้แก่ การประเมินประวัติสูติกรรมในอดีต ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบิน ประวัติการเจ็บป่วย ระดับดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ การเพิ่มของน้ำหนักระหว่างตั้งครรภ์ และค่าความดันโลหิต 2) ให้คำแนะนำสตีตั้งครรภ์ในการปฏิบัติเพื่อป้องภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดยพักผ่อนอย่างเพยงพอ และรับประทานอาหารที่มีเส้นใยและมีปริมาณอคลเซียมสูง 3.) ให้คำแนะนำในการปฏิบัตเพื่อลดความรุนแรง ของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์โดยสังเกตอาการผิดปกติ ได้อก่ ปวดศรีศะ จุกแน่นลิ้นปี่ การมองเห็นเปลียนแปลง การนับการดั้นของทารกในครรภ์อย่างสม่ำสเมอ และการฝากครรภ์ตามนัด พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัจจัยเสี่ยง ทั้งปัจจัยที่สามารถปรับเปลี่ยนได้ ปัจจัยที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ และปัจจัยที่ได้จากการประเมินทางคลินิก เพื่อเฝ้าระวังความเสี่ยงและนำนำไปสู่การวินิจฉัยที่ทันท่วงที รวมถึงยังมีบทบาทในการให้คำแนะนำแก่สตรีครรภ์เพื่อป้องปันและลดความรุนแรงของภาวะความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ด้วย Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25388