From this page you can:
Home |
Author details
Author ทวีคูณ ทัศนา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง / อริศรา สุขศรี in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง Original title : Relationships between resilience and depression and aggressive behaviors in adolescents exposed to violence Material Type: printed text Authors: อริศรา สุขศรี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.97-112 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.97-112Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ภาวะซึมเศร้า. พฤติกรรมก้าวร้าว. วัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง
การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ้มตัวอย่าง จำนวน 283 คน ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบคัดกรอง แบบวัดพฤติกรรม
ผลการศึกษา พบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงมีความสัมพันธฺทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับภาวะซึมเศร้า (rs= -.358, p<.001) และพฤติกรรมก้าวร้าว (rs= -.291, p.001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในแผนการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26953 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง = Relationships between resilience and depression and aggressive behaviors in adolescents exposed to violence [printed text] / อริศรา สุขศรี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author . - 2017 . - p.97-112.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.97-112Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ภาวะซึมเศร้า. พฤติกรรมก้าวร้าว. วัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง
การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ้มตัวอย่าง จำนวน 283 คน ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบคัดกรอง แบบวัดพฤติกรรม
ผลการศึกษา พบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงมีความสัมพันธฺทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับภาวะซึมเศร้า (rs= -.358, p<.001) และพฤติกรรมก้าวร้าว (rs= -.291, p.001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในแผนการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26953 ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย / นวลจิรา จันระลักษณะ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.2 (May-Aug) 2015 ([12/08/2015])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย Original title : Factors predicting depression in secondary school students Material Type: printed text Authors: นวลจิรา จันระลักษณะ, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author Publication Date: 2015 Article on page: น.128-143 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.2 (May-Aug) 2015 [12/08/2015] . - น.128-143Abstract: เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การวิจัยนี้่เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง จำนวนทั้งหมด 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินภาวะซึมเศร้า แบบประเมินการเห็นคุณค่าในตนเอง แบบประเมินความผูกผันในครอบครัว และแบบประเมินความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติการถดถอยแบบพหุคูณแบบเชิงชั้น ผลการวิจัย พบว่า ผลการเรียน การเห็นคุณค่าในตนเอง ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของภาวะซึมเศร้าในกลุ่มตัวอย่างได้ ร้อยละ 61 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าในนักเรียนมัยธยมศึกษาตอนปลายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การเห็นคุณค่าในตนเอง ความผูกพันในครอบครัว และความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน โดยการเห็นคุณค่าในตนเองเป็นปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าได้ดีที่สุด บทสรุป นักเรียนชั้นมัธยมตอนปลายที่มีการเห็นคุณค่าในตนเองสูงมีความผูกพันในครอบครัวและความผูกพันในครอบครัวและความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนมากจะมีภาวะซึมเศร้าต่ำ ผลจากการวิจัยนี้ให้ข้อมูลที่สำคัญสำหรับพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้าในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมุ่งเน้นส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเอง ความผูกพันในครอบครัวและความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25111 [article] ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย = Factors predicting depression in secondary school students [printed text] / นวลจิรา จันระลักษณะ, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author . - 2015 . - น.128-143.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.2 (May-Aug) 2015 [12/08/2015] . - น.128-143Abstract: เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การวิจัยนี้่เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดหนึ่งในภาคกลาง จำนวนทั้งหมด 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินภาวะซึมเศร้า แบบประเมินการเห็นคุณค่าในตนเอง แบบประเมินความผูกผันในครอบครัว และแบบประเมินความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติการถดถอยแบบพหุคูณแบบเชิงชั้น ผลการวิจัย พบว่า ผลการเรียน การเห็นคุณค่าในตนเอง ความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของภาวะซึมเศร้าในกลุ่มตัวอย่างได้ ร้อยละ 61 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะซึมเศร้าในนักเรียนมัยธยมศึกษาตอนปลายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ การเห็นคุณค่าในตนเอง ความผูกพันในครอบครัว และความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน โดยการเห็นคุณค่าในตนเองเป็นปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าได้ดีที่สุด บทสรุป นักเรียนชั้นมัธยมตอนปลายที่มีการเห็นคุณค่าในตนเองสูงมีความผูกพันในครอบครัวและความผูกพันในครอบครัวและความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อนมากจะมีภาวะซึมเศร้าต่ำ ผลจากการวิจัยนี้ให้ข้อมูลที่สำคัญสำหรับพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตเพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้าในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมุ่งเน้นส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเอง ความผูกพันในครอบครัวและความผูกพันใกล้ชิดกับเพื่อน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25111 ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อภาวะซึมเศร้าและความแข็งแกร่งในชีวิตของ / วิจิตรา จิตรักษ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อภาวะซึมเศร้าและความแข็งแกร่งในชีวิตของ : นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Original title : The effect of the resilience enhancing program on depression and resilience of nursing students in a nursing college in the northeast region of Thailand Material Type: printed text Authors: วิจิตรา จิตรักษ์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.42-60 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.42-60Keywords: การเสริมสร้างความแข็งแกร่ง.ผลของโปรแกรมการเสริมสร้าง.ภาวะซึมเศร้า.นักศึกษาพยาบาล.วิทยาลัยพยาบาลภาคตะวันออกเฉียงเหนิือ. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25551 [article] ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อภาวะซึมเศร้าและความแข็งแกร่งในชีวิตของ = The effect of the resilience enhancing program on depression and resilience of nursing students in a nursing college in the northeast region of Thailand : นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [printed text] / วิจิตรา จิตรักษ์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author . - 2016 . - p.42-60.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)