From this page you can:
Home |
Author details
Author กสิผล ทวีศักดิ์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัวต่อความสำเร็จ / ศุภลักษณ์ คูณศรี in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัวต่อความสำเร็จ : และระยะเวลาที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลว Original title : Effects of weaning ventilator protocal and familiy on success and duration of weaning in patient with respiratory failure Material Type: printed text Authors: ศุภลักษณ์ คูณศรี, Author ; ทวีศักดิ์ กสิผล, Author ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.73-88 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.73-88Keywords: ภาวะการหายใจล้มเหลว.รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจ.แรงสนับสนุนจากครอบครัว.ผลสำเร็จการหย่าเครื่องช่วยหายใจ. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลหลังการทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจับคู่ 2 กลุ่ม ในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวที่ได้รับการรักษาโดยการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่อวช่วยหายใจ หอผู้ป่วยนักอายุรกรรม โรงพยาบาลกลาง กรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลแบบย้อนหลังในกลุ่มเปรียบเทียบที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้มาตรฐานวิชาชีพและประสบการณ์ของตนเอง (วิธีปกติ)จำนวน 30 ราย ส่วนกลุ่มทดลอง 30 ราย ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัว โดยให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย และบูรณาการเข้ากับประเมินความพร้อม การเฝ้าระวังในการหย่าเครื่องช่วยหายใจทั้ง 3 ระยะ ประเมินความสำเร็จของการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้แบบประเมินความพร้อม การเฝ้าระวังในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ และระยะเวลาที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ และแบบบันทึกแนวทางการหย่าเครื่องช่วยหายใจ วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดบใช้สถิติพรรณา Mann-Whitney U Test และสถิติที (Independent t-test) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้รูปอบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัว สามารถหย่าเครื่อวช่วยหายใจได้สำเร็ยมากกว่า และใช้เวลาในการหย่าเครื่องหายใจน้อยกว่า กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยวิธีปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<.01 ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ทีมสุขภาพควรใช้รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจที่เป็นแนวทางปฎิบัติเดียวกันและส่งเสริมให้ครอบครัวได้เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนเพื่อเตรียมความพร้อมด้านจิตใจให้กับผู้ป่วยตลอดกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ. Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25000 [article] ผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัวต่อความสำเร็จ = Effects of weaning ventilator protocal and familiy on success and duration of weaning in patient with respiratory failure : และระยะเวลาที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลว [printed text] / ศุภลักษณ์ คูณศรี, Author ; ทวีศักดิ์ กสิผล, Author ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Author . - 2015 . - pp.73-88.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.73-88Keywords: ภาวะการหายใจล้มเหลว.รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจ.แรงสนับสนุนจากครอบครัว.ผลสำเร็จการหย่าเครื่องช่วยหายใจ. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลหลังการทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจับคู่ 2 กลุ่ม ในผู้ป่วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวที่ได้รับการรักษาโดยการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่อวช่วยหายใจ หอผู้ป่วยนักอายุรกรรม โรงพยาบาลกลาง กรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลแบบย้อนหลังในกลุ่มเปรียบเทียบที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้มาตรฐานวิชาชีพและประสบการณ์ของตนเอง (วิธีปกติ)จำนวน 30 ราย ส่วนกลุ่มทดลอง 30 ราย ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัว โดยให้ญาติมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วย และบูรณาการเข้ากับประเมินความพร้อม การเฝ้าระวังในการหย่าเครื่องช่วยหายใจทั้ง 3 ระยะ ประเมินความสำเร็จของการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้แบบประเมินความพร้อม การเฝ้าระวังในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ และระยะเวลาที่ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบประเมินความพร้อมทางด้านร่างกายและจิตใจในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ และแบบบันทึกแนวทางการหย่าเครื่องช่วยหายใจ วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดบใช้สถิติพรรณา Mann-Whitney U Test และสถิติที (Independent t-test) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยใช้รูปอบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจร่วมกับแรงสนับสนุนจากครอบครัว สามารถหย่าเครื่อวช่วยหายใจได้สำเร็ยมากกว่า และใช้เวลาในการหย่าเครื่องหายใจน้อยกว่า กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยวิธีปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<.01 ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า พยาบาลมีบทบาทสำคัญในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ทีมสุขภาพควรใช้รูปแบบการหย่าเครื่องช่วยหายใจที่เป็นแนวทางปฎิบัติเดียวกันและส่งเสริมให้ครอบครัวได้เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนเพื่อเตรียมความพร้อมด้านจิตใจให้กับผู้ป่วยตลอดกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ. Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25000