From this page you can:
Home |
Author details
Author วิริยะสม สุภาวลี
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการศึกษาผลการใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าต่อการใช้ยาป้องกันทุติยภูมิในผู้ป่วยหลังเกิดโรคกล้ามเนิื้อหัวใจขาดเลือด / สุภาวลี วิริยะสม in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : การศึกษาผลการใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าต่อการใช้ยาป้องกันทุติยภูมิในผู้ป่วยหลังเกิดโรคกล้ามเนิื้อหัวใจขาดเลือด : เฉียบพลันชนิดที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วนเอสทีสูงขึ้น Original title : Effect of pre-printed order on to use of secondary prevention drug therapy in patients with post ST-elevation actue myocardial infraction Material Type: printed text Authors: สุภาวลี วิริยะสม, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.15-28 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.15-28Keywords: ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้า.การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ.กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วนเอสทีสูงขึ้น Abstract: การศ฿กษานี้เป็นการเปรียบเทียบผลการใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าในผู้ป่วย หลังเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลืิอดเฉียบพลันชนิดที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วน เอทีสูงขึ้น (post-STMEI) เพื่อศึกษาอัตราการสั่งใช้ยาป้องกันทุติยภูมิ 4 กลุ่ม ได้แก่ Antiplatelets (Aspirin และ/หรือ Clopidiogrel) Beta Blockers (ARBs)และ Statins และใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าให้สอดคล้องกับเกณฑ์ข้อบ่งชี้ของการใช้ยาป้องกันุทุติยภูมิตามแนวทางของวิทยาลัยแพทย์โรคหัวใจและสมาคมหัวใจสหรัฐอเมริกา (ACC/AHA) และวัดผลลัพธ์อัตราการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน ผลการศึกษา พบว่า อัตราการสั่งใช้ยาป้องกันทุติยภูมิ 4 กลุ่ม ทั้งทีึ่จุดสั่งยาผู้ป่วยกลับบ้าน และที่จุดติดตามผู้ป่วยที่กลับมาพบแพทย์ตามนัดหมายภายใน 21 วัน ในผู้ป่วยที่ใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าสูงขึ้นกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับใบสั่งยาล่วงหน้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่อัตราการสั่งใช้ Antiplatelets, Beta blockers และ Statins ที่จุดสั่งยากผู้ป่วยกลับบ้าน และที่จุดติดตามผู้ป่วยภายใน 21 วัน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ส่วนอัตราการสั่งใช้ ACEls/ARBs เพิ่มขึ้นที่จุดสั่งยาผู้ป่วยกลับบ้าน และเพิ่มขึ้นที่จุดติดตามผู้ป่วยภายใน 21 วัน ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนอัตราการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในการดูแลผู้ป่วย post-STEMI ในกลุ่มผู้ป่วยที่ใช้และไม่ใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้ามีจำนวน 2 ราย และ 2 ราย ตามลำดับ ซึ่งไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.44) ส่วนสาเหตุของการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลคือ ผู้ป่วยมีภาวะ Unstable angina และ heart failure ถึงแม้ผู้ป่วยจะได้รับยาป้องกันทุติยภูทิครบ 4 กลุ่ม แต่มีสาเหตุอื่นที่เกี่ยวข้องทำให้ผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน เช่น ตำแหน่งการเกิดกล้ามเนื้่อหัวใจขาดเลือดเป็นบริเวณกว้างในส่วน anterior wall หรือผู้ป่วยเคยมีภาวะ cardiogenic shock หรือภาวะหัวใจล้มเหลว การศึกษานี้ สามารถผลการวิจัยไปใช้ในการเพิ่มบทบาทของเภสัชกรในการส่งต่อเหตุการไม่สั่งใช้ยา Beta blockers และ ACEIs/ARBs เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจได้รับการรักษาและดูแลอย่างต่อเนื่อง
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24996 [article] การศึกษาผลการใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าต่อการใช้ยาป้องกันทุติยภูมิในผู้ป่วยหลังเกิดโรคกล้ามเนิื้อหัวใจขาดเลือด = Effect of pre-printed order on to use of secondary prevention drug therapy in patients with post ST-elevation actue myocardial infraction : เฉียบพลันชนิดที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วนเอสทีสูงขึ้น [printed text] / สุภาวลี วิริยะสม, Author . - 2015 . - pp.15-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.15-28Keywords: ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้า.การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ.กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วนเอสทีสูงขึ้น Abstract: การศ฿กษานี้เป็นการเปรียบเทียบผลการใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าในผู้ป่วย หลังเกิดโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลืิอดเฉียบพลันชนิดที่มีคลื่นไฟฟ้าหัวใจส่วน เอทีสูงขึ้น (post-STMEI) เพื่อศึกษาอัตราการสั่งใช้ยาป้องกันทุติยภูมิ 4 กลุ่ม ได้แก่ Antiplatelets (Aspirin และ/หรือ Clopidiogrel) Beta Blockers (ARBs)และ Statins และใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าให้สอดคล้องกับเกณฑ์ข้อบ่งชี้ของการใช้ยาป้องกันุทุติยภูมิตามแนวทางของวิทยาลัยแพทย์โรคหัวใจและสมาคมหัวใจสหรัฐอเมริกา (ACC/AHA) และวัดผลลัพธ์อัตราการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน ผลการศึกษา พบว่า อัตราการสั่งใช้ยาป้องกันทุติยภูมิ 4 กลุ่ม ทั้งทีึ่จุดสั่งยาผู้ป่วยกลับบ้าน และที่จุดติดตามผู้ป่วยที่กลับมาพบแพทย์ตามนัดหมายภายใน 21 วัน ในผู้ป่วยที่ใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้าสูงขึ้นกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับใบสั่งยาล่วงหน้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่อัตราการสั่งใช้ Antiplatelets, Beta blockers และ Statins ที่จุดสั่งยากผู้ป่วยกลับบ้าน และที่จุดติดตามผู้ป่วยภายใน 21 วัน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) ส่วนอัตราการสั่งใช้ ACEls/ARBs เพิ่มขึ้นที่จุดสั่งยาผู้ป่วยกลับบ้าน และเพิ่มขึ้นที่จุดติดตามผู้ป่วยภายใน 21 วัน ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนอัตราการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดในการดูแลผู้ป่วย post-STEMI ในกลุ่มผู้ป่วยที่ใช้และไม่ใช้ใบสั่งยาพิมพ์ล่วงหน้ามีจำนวน 2 ราย และ 2 ราย ตามลำดับ ซึ่งไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P=0.44) ส่วนสาเหตุของการกลับเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลคือ ผู้ป่วยมีภาวะ Unstable angina และ heart failure ถึงแม้ผู้ป่วยจะได้รับยาป้องกันทุติยภูทิครบ 4 กลุ่ม แต่มีสาเหตุอื่นที่เกี่ยวข้องทำให้ผู้ป่วยจำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลภายใน 30 วัน เช่น ตำแหน่งการเกิดกล้ามเนื้่อหัวใจขาดเลือดเป็นบริเวณกว้างในส่วน anterior wall หรือผู้ป่วยเคยมีภาวะ cardiogenic shock หรือภาวะหัวใจล้มเหลว การศึกษานี้ สามารถผลการวิจัยไปใช้ในการเพิ่มบทบาทของเภสัชกรในการส่งต่อเหตุการไม่สั่งใช้ยา Beta blockers และ ACEIs/ARBs เพื่อให้ผู้ป่วยโรคหัวใจได้รับการรักษาและดูแลอย่างต่อเนื่อง
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24996