From this page you can:
Home |
Author details
Author คงศักดิ์ตระกูล ชื่นฤดี
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย / สุมาลา สว่างจิต in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย : และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล Original title : Evaluation of read to live program on language development during early childhood period and caregiver reading related behaviors Material Type: printed text Authors: สุมาลา สว่างจิต, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.229-242 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.229-242Keywords: โครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่าน.พัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย.พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อวกับการอ่าน ผู้ดูแล. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผลของโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านโดยเปรียบเทียบความแต่กต่างของการพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยกลุุ่มที่เข้าร่วมและกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการ และศึกษาความคิดเห็นเก่ยวกับความเหมาะสมของโครงการในกลุ่มผู้ดูแลเด็กทีี่เข้าร่วมโครงการ กลุ่มตัวอย่างงเป็นเด็กอายุ 1 ปี 6 เดือน ถึง 2 ปี จำนวน 64 ราย และผู้ดูแลของเด็กจำนวน 64 ราย ที่มารับบริการที่หน่วนตรวจผู้ป่วยนอกกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นกลุ่มทดลอง 32 คู่ กลุ่มควบคุม 32 คู่ ผลการศึกษา พบว่า เด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนนเฉลี่ยพัฒนาการด้านภาษาสูงกว่า เด็กกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้ารน่วมโครงการมีความคิดเห็นว่าเนื้อหาของโครงการ หนังสือที่แจกในโครงการ กิจกรรม ระยะเวลาในการทำกิจกรรมมีความเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สด และโครงการนี้ทำให้มีความรู้เกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้เด็กฟังเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนคำแนะนำที่ได้รับจากโครงการมีความเข้าใจง่ายในระดับปานกลางถึงมาก และมีความพึงพอใจโครงการในภาพรวมในระดับมากที่สุด ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้มีโครงการส่งเสริมการพัฒนาการผ่านการอ่านในโรงพยาบาลหรือสถานบริการสุขภาพอื่น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24991 [article] การประเมินโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านต่อพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย = Evaluation of read to live program on language development during early childhood period and caregiver reading related behaviors : และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแล [printed text] / สุมาลา สว่างจิต, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author . - 2015 . - pp.229-242.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.229-242Keywords: โครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่าน.พัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัย.พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อวกับการอ่าน ผู้ดูแล. Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผลของโครงการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการอ่านโดยเปรียบเทียบความแต่กต่างของการพัฒนาการด้านภาษาของเด็กปฐมวัยกลุุ่มที่เข้าร่วมและกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ และพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่านของผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการ และศึกษาความคิดเห็นเก่ยวกับความเหมาะสมของโครงการในกลุ่มผู้ดูแลเด็กทีี่เข้าร่วมโครงการ กลุ่มตัวอย่างงเป็นเด็กอายุ 1 ปี 6 เดือน ถึง 2 ปี จำนวน 64 ราย และผู้ดูแลของเด็กจำนวน 64 ราย ที่มารับบริการที่หน่วนตรวจผู้ป่วยนอกกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นกลุ่มทดลอง 32 คู่ กลุ่มควบคุม 32 คู่ ผลการศึกษา พบว่า เด็กกลุ่มที่เข้าร่วมโครงการมีคะแนนเฉลี่ยพัฒนาการด้านภาษาสูงกว่า เด็กกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผู้ดูแลเด็กกลุ่มที่เข้ารน่วมโครงการมีความคิดเห็นว่าเนื้อหาของโครงการ หนังสือที่แจกในโครงการ กิจกรรม ระยะเวลาในการทำกิจกรรมมีความเหมาะสมในระดับมากถึงมากที่สด และโครงการนี้ทำให้มีความรู้เกี่ยวกับการอ่านหนังสือให้เด็กฟังเพิ่มมากขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติในระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนคำแนะนำที่ได้รับจากโครงการมีความเข้าใจง่ายในระดับปานกลางถึงมาก และมีความพึงพอใจโครงการในภาพรวมในระดับมากที่สุด ดังนั้นจึงควรส่งเสริมให้มีโครงการส่งเสริมการพัฒนาการผ่านการอ่านในโรงพยาบาลหรือสถานบริการสุขภาพอื่น Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24991 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก / ชุติมาภรณ์ กังวาฬ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก Original title : Factors Related to Medication Adherence among Children with Epilepsy Material Type: printed text Authors: ชุติมาภรณ์ กังวาฬ, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author ; วันทนา มณีศรีวงศ์กูล, Author ; อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.44-59 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.44-59Keywords: การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ. เด็กโรคลมชัก. ผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก. Abstract: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชักกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กและผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก จำนวน 109 คู่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของเด็กและผู้ดูแลแบบประเมินความสม่ำเสมอในการรับประทานยา แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ยาบำบัดโรค และแบบสอบถามความรู้โรคลมชักของผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก ผลการศึกษา พบว่า เด็กโรคลมชักร้อยละ 92.70 มีการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ความรู้เกี่ยวกับโรคลมชักของผู้ดูแล ชนิดของ
การรักษาด้วยยา และความถี่ในการรับประทานยาต่อวัน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอในเด็กโรคลมชักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเจ็บป่วย ความพึงพอใจในการใช้ยาของผ้ดูแล ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่่ำเสมอในเด็กโรคลมชัก ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือควรมีการประเมินและส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโรคลมชัก และควรหาวิธีส่งเสริมการรับประทานยาอย่างสมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26993 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชัก = Factors Related to Medication Adherence among Children with Epilepsy [printed text] / ชุติมาภรณ์ กังวาฬ, Author ; ชื่นฤดี คงศักดิ์ตระกูล, Author ; วันทนา มณีศรีวงศ์กูล, Author ; อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์, Author . - 2017 . - p.44-59.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.44-59Keywords: การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ. เด็กโรคลมชัก. ผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก. Abstract: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยากันชักอย่างสม่ำเสมอของเด็กโรคลมชักกลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กและผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก จำนวน 109 คู่ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนด เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของเด็กและผู้ดูแลแบบประเมินความสม่ำเสมอในการรับประทานยา แบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้ยาบำบัดโรค และแบบสอบถามความรู้โรคลมชักของผู้ดูแลเด็กโรคลมชัก ผลการศึกษา พบว่า เด็กโรคลมชักร้อยละ 92.70 มีการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ความรู้เกี่ยวกับโรคลมชักของผู้ดูแล ชนิดของ
การรักษาด้วยยา และความถี่ในการรับประทานยาต่อวัน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอในเด็กโรคลมชักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนระยะเวลาในการเจ็บป่วย ความพึงพอใจในการใช้ยาของผ้ดูแล ไม่มีความสัมพันธ์กับการรับประทานยาอย่างสม่่ำเสมอในเด็กโรคลมชัก ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือควรมีการประเมินและส่งเสริมให้ผู้ดูแลมีความรู้เกี่ยวกับโรคลมชัก และควรหาวิธีส่งเสริมการรับประทานยาอย่างสมLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26993 ผลของนมแม่ต่อการตอบสนองความปวดจากการดูดเสมหะทางท่อหลอดลมคอ / จรินญา แสงลับ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/14/2016])