From this page you can:
Home |
Author details
Author พูนชัย ศิริพร
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการศึกษาตัวชี้บ่งการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกองและภาควิชากองการศึกษา / ศิริพร พูนชัย in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การศึกษาตัวชี้บ่งการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกองและภาควิชากองการศึกษา : วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก Material Type: printed text Authors: ศิริพร พูนชัย, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.69-78 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.69-78Keywords: ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา.กองการศึกษา.วิทยาลัยพยาบาลทหารบก.การประเมินคุณภาพการศึกษา. Abstract: การวจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกอง และภาควิชาของกองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วิธีการดำเนินการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วมแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1 การศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้และระยะที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพและทดลองใช้ตัวบ่งชี้ผู้เข้าร่วมในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและอาจารย์ กองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก จำนวนทั้งสิ้น 40 คน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ในการศึกษาเอกสาร การสนทนากลุ่มผู้บริหาร และการสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยมี 2 ชุด ได้แก่ 1 แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างสำหรับการสนทนากลุ่ม และ 2 แบบสำรวจความคิดเห็นต่อ (ร่าง) ตัวบ่งชี้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้่อหา และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันผลการศึกษา พบว่า กองการศึกษาควรดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้ครบถ้วนทั้ง 9 ประกอบ ทั้งในระดับกอง และระดับภาควิชา โดยควรคัดสรรมาจากตัวบ่งชี้ในระดับวิทยาลัยและเห็นด้วยกับการนำเกณฑ์รับรองสถาบันของสภาการพยาบาลและตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์ มาใช้ในการสร้างเป็นตัวบ่งชี้เพิ่มเติมให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของกองการศึกษา ตัวบ่งขี้ในระดับกองมี 34 ตัวบ่งชี้ และระดับภาควิชามั 25 ร้อยละ 62.50 ส่วนที่มาของตัวบ่งชี้มาจากตัวบ่งชี้ระดับวิทยาลัยมากที่สุดในระดับกอง คิดเป็นร้อยละ 75.00 ผลการตรวจสอบคุณภาพของร่างตัวบ่งชี้การประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ IOC มากกว่า 0.70 ในทุกผลการทดลองใช้ พบว่า ตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่มีค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันในระดับปานกลางขึ้นไป ผลการทดลองใช้ พบว่า ทั้งในระดับกองและภาควิชาสามารถเขียนรายงานและประเมินตนเองได้ในทุกตัวบ่งชี้ ส่วนการเปรียบเทียบผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการประเมินตนอง พบว่า ในระดับกองมีความสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 94.28 ส่วนในระดับภาควิชา มีึว่ามสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 96.0 Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24954 [article] การศึกษาตัวชี้บ่งการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกองและภาควิชากองการศึกษา : วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก [printed text] / ศิริพร พูนชัย, Author . - 2015 . - p.69-78.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.69-78Keywords: ตัวบ่งชี้คุณภาพการศึกษา.กองการศึกษา.วิทยาลัยพยาบาลทหารบก.การประเมินคุณภาพการศึกษา. Abstract: การวจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับกอง และภาควิชาของกองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก วิธีการดำเนินการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการแบบมีส่วนร่วมแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ 1 การศึกษา คัดสรร และสร้างตัวบ่งชี้และระยะที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพและทดลองใช้ตัวบ่งชี้ผู้เข้าร่วมในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและอาจารย์ กองการศึกษา วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก จำนวนทั้งสิ้น 40 คน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ในการศึกษาเอกสาร การสนทนากลุ่มผู้บริหาร และการสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยมี 2 ชุด ได้แก่ 1 แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างสำหรับการสนทนากลุ่ม และ 2 แบบสำรวจความคิดเห็นต่อ (ร่าง) ตัวบ่งชี้การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้่อหา และการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันผลการศึกษา พบว่า กองการศึกษาควรดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้ครบถ้วนทั้ง 9 ประกอบ ทั้งในระดับกอง และระดับภาควิชา โดยควรคัดสรรมาจากตัวบ่งชี้ในระดับวิทยาลัยและเห็นด้วยกับการนำเกณฑ์รับรองสถาบันของสภาการพยาบาลและตัวบ่งชี้ของการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนของมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาพยาบาลศาสตร์ มาใช้ในการสร้างเป็นตัวบ่งชี้เพิ่มเติมให้สอดคล้องกับการดำเนินงานของกองการศึกษา ตัวบ่งขี้ในระดับกองมี 34 ตัวบ่งชี้ และระดับภาควิชามั 25 ร้อยละ 62.50 ส่วนที่มาของตัวบ่งชี้มาจากตัวบ่งชี้ระดับวิทยาลัยมากที่สุดในระดับกอง คิดเป็นร้อยละ 75.00 ผลการตรวจสอบคุณภาพของร่างตัวบ่งชี้การประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ IOC มากกว่า 0.70 ในทุกผลการทดลองใช้ พบว่า ตัวบ่งชี้ส่วนใหญ่มีค่าดัชนีความคิดเห็นสอดคล้องตรงกันในระดับปานกลางขึ้นไป ผลการทดลองใช้ พบว่า ทั้งในระดับกองและภาควิชาสามารถเขียนรายงานและประเมินตนเองได้ในทุกตัวบ่งชี้ ส่วนการเปรียบเทียบผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการประเมินตนอง พบว่า ในระดับกองมีความสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 94.28 ส่วนในระดับภาควิชา มีึว่ามสอดคล้องกันคิดเป็นร้อยละ 96.0 Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24954