From this page you can:
Home |
Author details
Author เฉลยกิตติ สายสมร
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล Original title : Ethical judement in risks of nursing practice among Thai nurses as perceived by nursing administrators Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.194-195 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.194-195Keywords: การตัดสินใจเชิงจริยธรรม.ความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาล.การรับรู้ของผู้บริหา่รการพยาบาล. Abstract: เพื่อศึกษาประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงและการตัดสินใจเชิงจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลตามการรับรู้ของบริหารทางการพยาบาลการออกแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด ผู้บริหารทางการพยาบาลที่เต็มใจเข้าร่วมการศึกษานี้จำนวน 36 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มพร้อมศึกษารายงานการบันทึกกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะหฺข้อมูลเชิงผลการวิจัย พบว่า ผลจริยธรรมวิชาชีพที่เกี่ยวกับความเสี่ยงที่พยาบาลส่วนใหญ่ปฏิบัติขณะทำงานในบทบาท หน้าที่ พยาบาลตามมุมมองของผู้บริหารทางการพยาบาลมีจำนวน 7 ประเด็น ความสำคัญตามลำดับ คือ ประเด็นจริยธรรมที่มีความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) การให้ข้อมูลการสื่อสาร 2 การประเมินอาการไม่ถูกต้องและไม่ทันเวลา 3การบริหารยาไม่ถูกต้อง 4 การบริการไม่ถูกใจ ล่าช้า และพฤจติกรรมไม่เหมาะสม 5 การส่งต่อล่าช้า 6 การผูกมัด 7 การพลัดตก และพฤติกรรมจริยธรรมที่นำไปใช้ในการปฏิบัติในการพยาบาลที่ใช้ ได้แก่ 1 การบอกความจริง 2 การป้องกันอันตราย 3 พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย 4 ความซื่อสัตน์ 5 ความอาทรต่อผู้ป่วย 6 การเป็นอิสระในการตัดสินใจ 7 การเสียสละ 8 การมีพฤติกรรมการบริการและมีใจบริการที่ดัี 9 การดูแลผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ 10 ความรับผิดขอบและ 11 การรักษาความลับจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลไทนมีความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพที่มีความเสี่ยงในการปฏิบัติงานและมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาและส่งเสริมให้พยาบาลในการสร้างความเข้าใจในการจัดการเชิงจริยธรรมที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อลดปัญหาการปฏิบัติการพยาบาลและส่งเสริมให้พยายาลเข้าใจกระบวนการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26756 [article] การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงของพยาบาลไทยตามการรับรู้ของผู้บริหารทางการพยาบาล = Ethical judement in risks of nursing practice among Thai nurses as perceived by nursing administrators [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author . - 2017 . - p.194-195.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.194-195Keywords: การตัดสินใจเชิงจริยธรรม.ความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาล.การรับรู้ของผู้บริหา่รการพยาบาล. Abstract: เพื่อศึกษาประเด็นจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงและการตัดสินใจเชิงจริยธรรมที่เกี่ยวกับความเสี่ยงในการปฏิบัติการพยาบาลของพยาบาลตามการรับรู้ของบริหารทางการพยาบาลการออกแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด ผู้บริหารทางการพยาบาลที่เต็มใจเข้าร่วมการศึกษานี้จำนวน 36 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่มพร้อมศึกษารายงานการบันทึกกรณีศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะหฺข้อมูลเชิงผลการวิจัย พบว่า ผลจริยธรรมวิชาชีพที่เกี่ยวกับความเสี่ยงที่พยาบาลส่วนใหญ่ปฏิบัติขณะทำงานในบทบาท หน้าที่ พยาบาลตามมุมมองของผู้บริหารทางการพยาบาลมีจำนวน 7 ประเด็น ความสำคัญตามลำดับ คือ ประเด็นจริยธรรมที่มีความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1) การให้ข้อมูลการสื่อสาร 2 การประเมินอาการไม่ถูกต้องและไม่ทันเวลา 3การบริหารยาไม่ถูกต้อง 4 การบริการไม่ถูกใจ ล่าช้า และพฤจติกรรมไม่เหมาะสม 5 การส่งต่อล่าช้า 6 การผูกมัด 7 การพลัดตก และพฤติกรรมจริยธรรมที่นำไปใช้ในการปฏิบัติในการพยาบาลที่ใช้ ได้แก่ 1 การบอกความจริง 2 การป้องกันอันตราย 3 พิทักษ์สิทธิผู้ป่วย 4 ความซื่อสัตน์ 5 ความอาทรต่อผู้ป่วย 6 การเป็นอิสระในการตัดสินใจ 7 การเสียสละ 8 การมีพฤติกรรมการบริการและมีใจบริการที่ดัี 9 การดูแลผู้ป่วยอย่างเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ 10 ความรับผิดขอบและ 11 การรักษาความลับจากข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่า พยาบาลไทนมีความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพที่มีความเสี่ยงในการปฏิบัติงานและมีการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ข้อเสนอแนะ ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ข้อมูลจากการศึกษานี้ไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาและส่งเสริมให้พยาบาลในการสร้างความเข้าใจในการจัดการเชิงจริยธรรมที่มีความเสี่ยงสูง เพื่อลดปัญหาการปฏิบัติการพยาบาลและส่งเสริมให้พยายาลเข้าใจกระบวนการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อไป
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26756 การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน / จินตนา อาจสันเที๊ยะ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน Original title : Trans cultural nursing in ASEAN community Material Type: printed text Authors: จินตนา อาจสันเที๊ยะ, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.10-16 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.10-16Keywords: การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม.ประชาคมอาเชียน. Abstract: การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนมีความสำคัญสำหรับพยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการสุขภาพ ที่เป็นหนึ่งในแปดวิชาชีพการบริการที่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเร่งรัดให้มีการรวมตัว ด้วยเหตุนี้ความเข้าใจในด้านสังคม วัฒนธรรม ของประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนจึงมีความสำคัญในการให้บริการสุขภาพข้ามวัฒนธรรมที่ต้องมีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียใกันในสังคม และเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในทุกวัฒนธรรม... Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25524 [article] การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน = Trans cultural nursing in ASEAN community [printed text] / จินตนา อาจสันเที๊ยะ, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author . - 2016 . - p.10-16.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.10-16Keywords: การพยาบาลข้ามวัฒนธรรม.ประชาคมอาเชียน. Abstract: การพยาบาลข้ามวัฒนธรรมกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนมีความสำคัญสำหรับพยาบาลวิชาชีพที่ให้บริการสุขภาพ ที่เป็นหนึ่งในแปดวิชาชีพการบริการที่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเร่งรัดให้มีการรวมตัว ด้วยเหตุนี้ความเข้าใจในด้านสังคม วัฒนธรรม ของประเทศในกลุ่มประเทศอาเซียนจึงมีความสำคัญในการให้บริการสุขภาพข้ามวัฒนธรรมที่ต้องมีความเข้าใจในเรื่องความเท่าเทียใกันในสังคม และเคารพในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ในทุกวัฒนธรรม... Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25524 การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาล / ศิริพร พุทธรังษี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาล : ในศตวรรษที่ 21 Original title : Health behavior health workplace and happy life among healthcare provider in the 21 century Material Type: printed text Authors: ศิริพร พุทธรังษี, Author ; ชวลี บุญโต, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author ; นุชรัตน์ มังคละคีรี, Author ; หทัยรัตน์ ชาวเอี่ยม, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.8-14 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.8-14Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพ.บุคลากรทางการพยาบาล.ศตรวรรษที่ 21. Abstract: ปัญหาสุขภาพในศตวรรษที่ 21 มาพร้อมกับความเจริญด้านวัตถุ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ประชาชนมีการดำเนินชีวิตที่ไม่ถูกต้อง เกิดปัญหาสุขภาพจากความอุดมสมบูรณ์ เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่ท้าท้ายของบุคลากรทางสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาวะให้ประชาชนในยุคนี้ แต่การที่บุคลากรทางสุขภาพจะสามารถดูแลผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองก่อนเพื่อให้เป็นแบบอย่างและมีสุขภาพแข็งแรงพร้อมที่ให้บริการแก่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรทางการพยาบาลจึงควรนำความรู้มาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน และพฤติกรรมสุขภาพทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การพักผ่อนและการลดภาวะเครียด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้สุขภาพแข็งแรงสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นแบบอย่างที่ด และเป็นผู้นำในการสร้างเสริมสุขภาพให้กับประชาชน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24936 [article] การสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรทางการพยาบาล = Health behavior health workplace and happy life among healthcare provider in the 21 century : ในศตวรรษที่ 21 [printed text] / ศิริพร พุทธรังษี, Author ; ชวลี บุญโต, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author ; นุชรัตน์ มังคละคีรี, Author ; หทัยรัตน์ ชาวเอี่ยม, Author . - 2015 . - p.8-14.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.8-14Keywords: การสร้างเสริมสุขภาพ.บุคลากรทางการพยาบาล.ศตรวรรษที่ 21. Abstract: ปัญหาสุขภาพในศตวรรษที่ 21 มาพร้อมกับความเจริญด้านวัตถุ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ประชาชนมีการดำเนินชีวิตที่ไม่ถูกต้อง เกิดปัญหาสุขภาพจากความอุดมสมบูรณ์ เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและเหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่ท้าท้ายของบุคลากรทางสุขภาพในการสร้างเสริมสุขภาวะให้ประชาชนในยุคนี้ แต่การที่บุคลากรทางสุขภาพจะสามารถดูแลผู้รับบริการได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองก่อนเพื่อให้เป็นแบบอย่างและมีสุขภาพแข็งแรงพร้อมที่ให้บริการแก่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ บุคลากรทางการพยาบาลจึงควรนำความรู้มาใช้ในการสร้างเสริมสุขภาวะของตนเองโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน และพฤติกรรมสุขภาพทั้งเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การพักผ่อนและการลดภาวะเครียด รวมทั้งการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม เพื่อให้สุขภาพแข็งแรงสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นแบบอย่างที่ด และเป็นผู้นำในการสร้างเสริมสุขภาพให้กับประชาชน Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24936 แนวโน้มการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง / ละเอียด แจ่มจันทร์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : แนวโน้มการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง : ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต Original title : Trend of palliative care in the Bachelor of Nursing Science Curriculum Material Type: printed text Authors: ละเอียด แจ่มจันทร์, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.22-28 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.22-28Keywords: การศึกษาพยาบาล.หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต.การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง.การพยาบาลระยะสุดท้าย. Abstract: สถานการณ์ของโรคเรื้อรังของคนไทยเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อการดูแลรักษาในระยะวิกฤต หรือมีภาวะคุกคามต่อชีวิตเมื่อผู้ป่วยเข้าสู่วาระสุดท้าย รวมทั้งการเข้าสู่สังคมผูัสูงอายุที่ความต้องการดูแลระยะยาวเพิ่มขึ้น ปี 2559 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เริ่มชุดสิทธิประโยชน์ระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาะวพึ่งพิงทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน ดังนั้นการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care)จึงเป็นแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต การออกแบบรายวิชาการพยาบาลแบบประคับประคอง หรือการพยาบาลระยะสุดท้าย (End of life care) ควรเป็นไปตามนิยามขององค์การอนามัยโลก และมีองค์ประกอบในการดูแลด้านร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ ศาสนา วัฒนธรรม จริยธรรมและกฎหมายกระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วยความสัมพันธ์ของ 3 ด้าน คือ ด้านผู้ป่วยและครอบครัว ด้านทีมสหวิชาชีพ และด้านการตระหนักรู้ในตนเองจัดการเรียนภาคทฤษฎีและทดลองหรือปฏิบัติ ด้วยวิธีการเรียนแบบเน้นการลงมือปฏิบัติจริง (performance based learning) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26737 [article] แนวโน้มการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง = Trend of palliative care in the Bachelor of Nursing Science Curriculum : ในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต [printed text] / ละเอียด แจ่มจันทร์, Author ; สายสมร เฉลยกิตติ, Author . - 2017 . - p.22-28.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.22-28Keywords: การศึกษาพยาบาล.หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต.การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง.การพยาบาลระยะสุดท้าย. Abstract: สถานการณ์ของโรคเรื้อรังของคนไทยเพิ่มขึ้น ส่งผลต่อการดูแลรักษาในระยะวิกฤต หรือมีภาวะคุกคามต่อชีวิตเมื่อผู้ป่วยเข้าสู่วาระสุดท้าย รวมทั้งการเข้าสู่สังคมผูัสูงอายุที่ความต้องการดูแลระยะยาวเพิ่มขึ้น ปี 2559 สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เริ่มชุดสิทธิประโยชน์ระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาะวพึ่งพิงทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน ดังนั้นการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง (Palliative care)จึงเป็นแนวโน้มในการพัฒนาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต การออกแบบรายวิชาการพยาบาลแบบประคับประคอง หรือการพยาบาลระยะสุดท้าย (End of life care) ควรเป็นไปตามนิยามขององค์การอนามัยโลก และมีองค์ประกอบในการดูแลด้านร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ ศาสนา วัฒนธรรม จริยธรรมและกฎหมายกระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วยความสัมพันธ์ของ 3 ด้าน คือ ด้านผู้ป่วยและครอบครัว ด้านทีมสหวิชาชีพ และด้านการตระหนักรู้ในตนเองจัดการเรียนภาคทฤษฎีและทดลองหรือปฏิบัติ ด้วยวิธีการเรียนแบบเน้นการลงมือปฏิบัติจริง (performance based learning) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26737