From this page you can:
Home |
Author details
Author นินทจันทร์ พัชรินทร์
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการศึกษาการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและ สุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน / ศิริลักษณ์ ช่วยดี in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : การศึกษาการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและ สุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน : The Study of community psychiatric and mental health practice among villange health volunteers Material Type: printed text Authors: ศิริลักษณ์ ช่วยดี, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.41-59 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.41-59Keywords: จิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน. อาสาสมัคร. สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน.Community psychiatric and mental health. village health volunteer. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตามปัจจัยคัดสรร ได้แก่ อายุ ระดับ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้ ระยะเวลา ในการปฏิบัติงานตำแหน่ง อสม. ความรู้ของ อสม.เกี่ยวกับโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และทัศนคติของ อสม. ที่มีต่อโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็น อสม. ที่ขึ้นทะเบียนและปฏิบัติงานให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในอำเภอหนึ่ง ของจังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 361 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวช แบบวัดทัศนคติของอสม.ต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวชและการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวช และแบบสอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามบทบาทของ อสม. ในงานจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบมี 1 ตัวแปร
ผลการศึกษา: อสม. ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน, ระยะเวลาในการปฏิบัติงานตำแหน่ง อสม. ต่างกัน และระดับความรู้ของ อสม. เกี่ยวกับโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวชต่างกัน มีค่าเฉลี่ยการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนแตกต่างกัน ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถใช้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาการดำเนินงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของ อสม. รวมถึงพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้
Objective: To compare mean scores of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer according to selected factors which were: age, educational level, marital status and income, duration of working as village health volunteer, knowledge of psychiatric illnesses and psychiatric patients care, and attitude toward psychiatric illnesses and psychiatric patients care.
Methods: The participants consisted of 361 village health volunteers who were registered and have worked for the District Health Promoting Hospital in a district of Kanchanaburi province. The research instruments included Demographic Data Questionnaire, Knowledge of Psychiatric Illnesses and Psychiatric Patients Care Questionnaire, Attitude toward psychiatric Illnesses and Psychiatric Patients Care Questionnaire and Community Mental Health Practices of Village Health Volunteer Questionnaire. The data were analyzed using descriptive statistics and One-way Analysis of Variance.
Results: The results revealed that there are statistically and significantly different in mean scores of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer according to educational level, duration of working as village health volunteer and knowledge of psychiatric illnesses and psychiatric patients care. Results from this study would be utilized to improve community psychiatric and mental health practices of village health volunteer as well as to develop program for enhancing the efficiency of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27471 [article] การศึกษาการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและ สุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน : The Study of community psychiatric and mental health practice among villange health volunteers [printed text] / ศิริลักษณ์ ช่วยดี, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author . - 2017 . - p.41-59.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.41-59Keywords: จิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน. อาสาสมัคร. สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน.Community psychiatric and mental health. village health volunteer. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตามปัจจัยคัดสรร ได้แก่ อายุ ระดับ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้ ระยะเวลา ในการปฏิบัติงานตำแหน่ง อสม. ความรู้ของ อสม.เกี่ยวกับโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวช และทัศนคติของ อสม. ที่มีต่อโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างเป็น อสม. ที่ขึ้นทะเบียนและปฏิบัติงานให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในอำเภอหนึ่ง ของจังหวัดกาญจนบุรี จำนวน 361 คน เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตและการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวช แบบวัดทัศนคติของอสม.ต่อผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวชและการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิต/ ผู้ป่วยจิตเวช และแบบสอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติงานตามบทบาทของ อสม. ในงานจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และการวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบมี 1 ตัวแปร
ผลการศึกษา: อสม. ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน, ระยะเวลาในการปฏิบัติงานตำแหน่ง อสม. ต่างกัน และระดับความรู้ของ อสม. เกี่ยวกับโรคจิตเวชและการดูแลผู้ป่วยจิตเวชต่างกัน มีค่าเฉลี่ยการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนแตกต่างกัน ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถใช้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาการดำเนินงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของ อสม. รวมถึงพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้
Objective: To compare mean scores of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer according to selected factors which were: age, educational level, marital status and income, duration of working as village health volunteer, knowledge of psychiatric illnesses and psychiatric patients care, and attitude toward psychiatric illnesses and psychiatric patients care.
Methods: The participants consisted of 361 village health volunteers who were registered and have worked for the District Health Promoting Hospital in a district of Kanchanaburi province. The research instruments included Demographic Data Questionnaire, Knowledge of Psychiatric Illnesses and Psychiatric Patients Care Questionnaire, Attitude toward psychiatric Illnesses and Psychiatric Patients Care Questionnaire and Community Mental Health Practices of Village Health Volunteer Questionnaire. The data were analyzed using descriptive statistics and One-way Analysis of Variance.
Results: The results revealed that there are statistically and significantly different in mean scores of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer according to educational level, duration of working as village health volunteer and knowledge of psychiatric illnesses and psychiatric patients care. Results from this study would be utilized to improve community psychiatric and mental health practices of village health volunteer as well as to develop program for enhancing the efficiency of community psychiatric and mental health practices of village health volunteer.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27471 ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง / อริศรา สุขศรี in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง Original title : Relationships between resilience and depression and aggressive behaviors in adolescents exposed to violence Material Type: printed text Authors: อริศรา สุขศรี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.97-112 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.97-112Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ภาวะซึมเศร้า. พฤติกรรมก้าวร้าว. วัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง
การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ้มตัวอย่าง จำนวน 283 คน ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบคัดกรอง แบบวัดพฤติกรรม
ผลการศึกษา พบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงมีความสัมพันธฺทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับภาวะซึมเศร้า (rs= -.358, p<.001) และพฤติกรรมก้าวร้าว (rs= -.291, p.001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในแผนการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26953 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง = Relationships between resilience and depression and aggressive behaviors in adolescents exposed to violence [printed text] / อริศรา สุขศรี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author . - 2017 . - p.97-112.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.97-112Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ภาวะซึมเศร้า. พฤติกรรมก้าวร้าว. วัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง
การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ้มตัวอย่าง จำนวน 283 คน ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบคัดกรอง แบบวัดพฤติกรรม
ผลการศึกษา พบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงมีความสัมพันธฺทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับภาวะซึมเศร้า (rs= -.358, p<.001) และพฤติกรรมก้าวร้าว (rs= -.291, p.001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในแผนการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26953 ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส / พัชรินทร์ นินทจันทร์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส Original title : Factors predicting resilience in underprivieleged adolescents Material Type: printed text Authors: พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; วารีรัตน์ ถาน้อย, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; มาณวิภา พัฒนมาศ, Author ; ช่อทิพย์ อินทรักษา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.13-28. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.13-28.Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ความเครียด. เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ. วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส.Resilience. Stress. Negative events. Underprivileged adolescents. Abstract:
วัตถุประสงค์: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่งในประเทศไทย จำนวน 224 คน เลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความเครียด แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิตและแบบวัดเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน
ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่า อายุ สถานะทางการเงิน ความเครียด และเหตุการณ์ ที่สร้างความยุ่งยากใจ (ปัญหากับเพื่อน ปัญหากับแฟน ปัญหากับครู/ อาจารย์ ปัญหากับบิดา/ มารดา ปัญหากับนักศึกษาอื่น ปัญหากับญาติ/พี่น้องปัญหาการเงิน ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการเรียน ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาด้านข้อจำกัดในการเรียนและความสนใจในวิชาเรียน) มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ และอายุสามารถร่วมกันทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตได้ร้อยละ 17.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป: ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตให้แก่วัยรุ่น เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นด้อยโอกาสต่อไป
Objective: The purpose of this study was to investigate factors predicting resilience in underprivileged adolescents.
Methods: A simple random sampling technique was used to select 224 secondary school students from a school for underprivileged adolescents in Thailand. Data were collected by a set of self-report questionnaires including a demographic questionnaire, the Thai Stress Test, the Resilience Inventory, and the Negative Events Scale. Descriptive statistics, correlation coefficient, and stepwise multiple regression were employed for data analyses.
Results: The results revealed that age, economic status, stress, and negative events (problems with friends, problems with boy/ girlfriend, problems with teachers, problems with parents, problems with other students, problems with relatives, financial problems, problems with academic courses, health problems and problems with academic limitations and course interest) had significant relationship with resilience. The negative events and age could collectively explain variance of resilience at 17.30 percentages.
Conclusion: The findings of this study can be used as basic information to develop a nursing intervention to prevent psychological problems and also enhance resilience of the underprivileged adolescents.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27469 [article] ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส = Factors predicting resilience in underprivieleged adolescents [printed text] / พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; วารีรัตน์ ถาน้อย, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; มาณวิภา พัฒนมาศ, Author ; ช่อทิพย์ อินทรักษา, Author . - 2017 . - p.13-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.13-28.Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ความเครียด. เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ. วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส.Resilience. Stress. Negative events. Underprivileged adolescents. Abstract:
วัตถุประสงค์: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่งในประเทศไทย จำนวน 224 คน เลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความเครียด แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิตและแบบวัดเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน
ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่า อายุ สถานะทางการเงิน ความเครียด และเหตุการณ์ ที่สร้างความยุ่งยากใจ (ปัญหากับเพื่อน ปัญหากับแฟน ปัญหากับครู/ อาจารย์ ปัญหากับบิดา/ มารดา ปัญหากับนักศึกษาอื่น ปัญหากับญาติ/พี่น้องปัญหาการเงิน ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการเรียน ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาด้านข้อจำกัดในการเรียนและความสนใจในวิชาเรียน) มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ และอายุสามารถร่วมกันทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตได้ร้อยละ 17.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป: ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตให้แก่วัยรุ่น เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นด้อยโอกาสต่อไป
Objective: The purpose of this study was to investigate factors predicting resilience in underprivileged adolescents.
Methods: A simple random sampling technique was used to select 224 secondary school students from a school for underprivileged adolescents in Thailand. Data were collected by a set of self-report questionnaires including a demographic questionnaire, the Thai Stress Test, the Resilience Inventory, and the Negative Events Scale. Descriptive statistics, correlation coefficient, and stepwise multiple regression were employed for data analyses.
Results: The results revealed that age, economic status, stress, and negative events (problems with friends, problems with boy/ girlfriend, problems with teachers, problems with parents, problems with other students, problems with relatives, financial problems, problems with academic courses, health problems and problems with academic limitations and course interest) had significant relationship with resilience. The negative events and age could collectively explain variance of resilience at 17.30 percentages.
Conclusion: The findings of this study can be used as basic information to develop a nursing intervention to prevent psychological problems and also enhance resilience of the underprivileged adolescents.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27469 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนจ่าทหารเรือ / มรกต เขียวอ่อน in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนจ่าทหารเรือ Original title : Factors relating to drinking behavior in navy non-commisoned officer students Material Type: printed text Authors: มรกต เขียวอ่อน, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.36-51 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: Drinking behavior. Factors. Navy students. Non-Commissioned Officer. พฤติกรรมการดื่มสุรา. นักเรียนจ่าทหารเรือ. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนำ [ปัจจัยส่วนบุคคล (ประวัติการสูบบุหรี่ รายได้) และทัศนคติต่อการดื่มสุรา] ปัจจัยเอื้อ (การเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา) และปัจจัยเสริม(การรับอิทธิพลจากสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์แรงสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนในการดื่มสุรา และพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว) กับพฤติกรรมการดื่มสุรา
วิธีการศึกษา: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนจ่าทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือปีการศึกษา 2558 จำนวน 836 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 7 ส่วน ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา แบบสอบถามทัศนคติต่อการดื่มสุรา แบบสอบถามการเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา แบบสอบถามการได้รับอิทธิพลจากสื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสุรา แบบสอบถามแรงสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนในการดื่มสุรา และแบบสอบถามพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และสถิติไคสแควร์
ผลการศึกษา: ทัศนคติต่อการดื่มสุรา การเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา การรับอิทธิพลจากสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ แรงสนับสนุนจากกล่มเพื่อนในการดื่มสุรา และพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดื่มสุราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) รวมทั้งพบว่าการสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับพฤติกรรมการดื่มสุรา (p = .792) ผลการศึกษาครั้งนี้ให้ข้อมูลที่สำคัญในการนำไปวางแผนลดพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนจ่าทหารเรือต่อไป
Abstract
Objective: This descriptive correlational research was aimed at investigating relationships between predisposing factors [personal factors (smoking history, income) and attitudes towards drinking behaviors], enabling factors (accessibility to alcohol selling stores) and reinforcing factors (influence of advertising media and public relations, the support from group of friends in drinking behaviors and drinking behaviors of the family) with drinking behaviors.
Methods: The participants consisted of 836 navy non-commissioned officer students, naval education department, in the academic year 2015. Data were collected by seven questionnaires comprising of the Personal data questionnaire, Alcohol Use Identification Test (AUDIT), Attitudes towards drinking behavior questionnaire, Accessibility to alcohol selling store questionnaire, Influence of advertising media and public relations questionnaire, The support from groups of friends in the drinking behavior questionnaire and Drinking behavior of the family questionnaire. Descriptive statistics, Spearman’s rank-order correlation and Chi-square were used for data analysis.
Results: The study results revealed that attitudes towards drinking behaviors, accessibility
to alcohol selling stores, influence of advertising media and public relations, support from groups of friends in drinking behaviors and drinking behaviors of the family were positively and significantly related to drinking behaviors (p = .000). In addition, smoking was significantly related to drinking behaviors (p = .000). However, income was not related to drinking behaviors (p = .792). Results from this study provided important information in order to plan for reducing drinking behaviors in navy non-commissioned officer students.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27368 [article] ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนจ่าทหารเรือ = Factors relating to drinking behavior in navy non-commisoned officer students [printed text] / มรกต เขียวอ่อน, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author . - 2017 . - p.36-51.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: Drinking behavior. Factors. Navy students. Non-Commissioned Officer. พฤติกรรมการดื่มสุรา. นักเรียนจ่าทหารเรือ. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนำ [ปัจจัยส่วนบุคคล (ประวัติการสูบบุหรี่ รายได้) และทัศนคติต่อการดื่มสุรา] ปัจจัยเอื้อ (การเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา) และปัจจัยเสริม(การรับอิทธิพลจากสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์แรงสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนในการดื่มสุรา และพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว) กับพฤติกรรมการดื่มสุรา
วิธีการศึกษา: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนจ่าทหารเรือ กรมยุทธศึกษาทหารเรือปีการศึกษา 2558 จำนวน 836 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 7 ส่วน ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา แบบสอบถามทัศนคติต่อการดื่มสุรา แบบสอบถามการเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา แบบสอบถามการได้รับอิทธิพลจากสื่อโฆษณา ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับสุรา แบบสอบถามแรงสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อนในการดื่มสุรา และแบบสอบถามพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สถิติสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมน และสถิติไคสแควร์
ผลการศึกษา: ทัศนคติต่อการดื่มสุรา การเข้าถึงแหล่งซื้อขายสุรา การรับอิทธิพลจากสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ แรงสนับสนุนจากกล่มเพื่อนในการดื่มสุรา และพฤติกรรมการดื่มสุราของบุคคลในครอบครัว มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดื่มสุราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) รวมทั้งพบว่าการสูบบุหรี่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดื่มสุราอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = .000) อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างรายได้กับพฤติกรรมการดื่มสุรา (p = .792) ผลการศึกษาครั้งนี้ให้ข้อมูลที่สำคัญในการนำไปวางแผนลดพฤติกรรมการดื่มสุราในนักเรียนจ่าทหารเรือต่อไป
Abstract
Objective: This descriptive correlational research was aimed at investigating relationships between predisposing factors [personal factors (smoking history, income) and attitudes towards drinking behaviors], enabling factors (accessibility to alcohol selling stores) and reinforcing factors (influence of advertising media and public relations, the support from group of friends in drinking behaviors and drinking behaviors of the family) with drinking behaviors.
Methods: The participants consisted of 836 navy non-commissioned officer students, naval education department, in the academic year 2015. Data were collected by seven questionnaires comprising of the Personal data questionnaire, Alcohol Use Identification Test (AUDIT), Attitudes towards drinking behavior questionnaire, Accessibility to alcohol selling store questionnaire, Influence of advertising media and public relations questionnaire, The support from groups of friends in the drinking behavior questionnaire and Drinking behavior of the family questionnaire. Descriptive statistics, Spearman’s rank-order correlation and Chi-square were used for data analysis.
Results: The study results revealed that attitudes towards drinking behaviors, accessibility
to alcohol selling stores, influence of advertising media and public relations, support from groups of friends in drinking behaviors and drinking behaviors of the family were positively and significantly related to drinking behaviors (p = .000). In addition, smoking was significantly related to drinking behaviors (p = .000). However, income was not related to drinking behaviors (p = .792). Results from this study provided important information in order to plan for reducing drinking behaviors in navy non-commissioned officer students.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27368 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอาย / สมหมาย กุมผัน in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอาย Original title : Factor influence loneliness in order adults Material Type: printed text Authors: สมหมาย กุมผัน, Author ; โสภิน แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.50-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.50-68Keywords: ผู้สูงอายุ.ความว้าเหว่. ปัจจัยที่มีอิทธิพล. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงทำนาย เพื่อศึกษาปััจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ ปัจจัยที่ศึกษาได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส ภาวะสุขภาพ สัมพันธภาพในครอบครัว ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งจองกลุ่ม หรือสังคมและการสนับสนุนทางสังคม
วิธีการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 116 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2558 เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบประเมิน เแบบทดสอบ แบบวัดสัมพันธภาพ
ผลการศึกษา พบว่า อายุ สถานภาพสมรส ภาวะสุขภาพ สัมพันธภาพในครอบครัว ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือสังคม ร่วมกนอธิบายความแปรปรวนของความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ ผลการวจิจัยให้ข้ข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ในการวางแผนป้องกันและลดความว้าเหว่ในผู้สูงอายุโดยให้ความสำคัญในการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม หรือสังคม ลดปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26929 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอาย = Factor influence loneliness in order adults [printed text] / สมหมาย กุมผัน, Author ; โสภิน แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author . - 2017 . - p.50-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.50-68Keywords: ผู้สูงอายุ.ความว้าเหว่. ปัจจัยที่มีอิทธิพล. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงทำนาย เพื่อศึกษาปััจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ ปัจจัยที่ศึกษาได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส ภาวะสุขภาพ สัมพันธภาพในครอบครัว ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งจองกลุ่ม หรือสังคมและการสนับสนุนทางสังคม
วิธีการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 116 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2558 เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบประเมิน เแบบทดสอบ แบบวัดสัมพันธภาพ
ผลการศึกษา พบว่า อายุ สถานภาพสมรส ภาวะสุขภาพ สัมพันธภาพในครอบครัว ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือสังคม ร่วมกนอธิบายความแปรปรวนของความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ ผลการวจิจัยให้ข้ข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ในการวางแผนป้องกันและลดความว้าเหว่ในผู้สูงอายุโดยให้ความสำคัญในการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม หรือสังคม ลดปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26929 ปััจัยที่มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตวัยรุ่น / มะลิวรรณ วงษ์ขันธ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol. 29 No.1 (Jan - Apr) 2558 ([07/21/2015])
[article]
Title : ปััจัยที่มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตวัยรุ่น Material Type: printed text Authors: มะลิวรรณ วงษ์ขันธ์, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.57-75 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol. 29 No.1 (Jan - Apr) 2558 [07/21/2015] . - p.57-75Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24861 [article] ปััจัยที่มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตวัยรุ่น [printed text] / มะลิวรรณ วงษ์ขันธ์, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author . - 2015 . - p.57-75.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol. 29 No.1 (Jan - Apr) 2558 [07/21/2015] . - p.57-75Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24861 ผลของโปรแกรมกการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต / สุทธามาศ อนุธาตุ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol. 29 No.1 (Jan - Apr) 2558 ([07/21/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมกการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต : ต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่ง Material Type: printed text Authors: สุทธามาศ อนุธาตุ, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.27-43 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol. 29 No.1 (Jan - Apr) 2558 [07/21/2015] . - p.27-43Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24859 [article] ผลของโปรแกรมกการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต : ต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่ง [printed text] / สุทธามาศ อนุธาตุ, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author . - 2015 . - p.27-43.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol. 29 No.1 (Jan - Apr) 2558 [07/21/2015] . - p.27-43Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24859 ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น / กานดา นาควาวี in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.2 (May-Aug) 2015 ([12/08/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น Original title : Effect of the resilience enhancing program in junior high school students Material Type: printed text Authors: กานดา นาควาวี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author Publication Date: 2015 Article on page: น.46-63 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.2 (May-Aug) 2015 [12/08/2015] . - น.46-63Abstract: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตนักเรัียนมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัยธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่ศึกษาในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ของโรงเรีบน 2 โรงเรียน จังหวัดอ่างทอง โรงเรียนละ 29 คน เป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม โปรแกรมที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1. โปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตที่พัฒนาโดยพัชรินทร์ นินทจันทร์ และคณะ 2. แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 3. แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิตซึ่งพัฒนาโดยพัชรินทร์ นินทจันทร์ และคณะ วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และการทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยของความแข็งแกร่งในชีวิตของนักเรียนหลังการเข้าร่วมโปรแกรม สูงกว่าก่อนเข้าร่วมมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความแข็งแกร่งในชีวิตนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมหลังการเข้าร่วมโปรแกรม พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของความแข็งแกร่งในชีวิตสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 ผลจากการวิจัยสามารถนำไปใช้ในการส่งเสริมให้นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นมีความแข็งแกร่งในชีวิตเพื่อเตรียมพร้อมในการเผชิญเหตุการณ์วิกฤตต่าง ๆ ในชีวิตต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25105 [article] ผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น = Effect of the resilience enhancing program in junior high school students [printed text] / กานดา นาควาวี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author . - 2015 . - น.46-63.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.2 (May-Aug) 2015 [12/08/2015] . - น.46-63Abstract: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตนักเรัียนมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนระดับชั้นมัยธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่ศึกษาในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2557 ของโรงเรีบน 2 โรงเรียน จังหวัดอ่างทอง โรงเรียนละ 29 คน เป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม โปรแกรมที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1. โปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตที่พัฒนาโดยพัชรินทร์ นินทจันทร์ และคณะ 2. แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 3. แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิตซึ่งพัฒนาโดยพัชรินทร์ นินทจันทร์ และคณะ วิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยใช้สถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ และการทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยของความแข็งแกร่งในชีวิตของนักเรียนหลังการเข้าร่วมโปรแกรม สูงกว่าก่อนเข้าร่วมมโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 และเมื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความแข็งแกร่งในชีวิตนักเรียนระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมหลังการเข้าร่วมโปรแกรม พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของความแข็งแกร่งในชีวิตสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.05 ผลจากการวิจัยสามารถนำไปใช้ในการส่งเสริมให้นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นมีความแข็งแกร่งในชีวิตเพื่อเตรียมพร้อมในการเผชิญเหตุการณ์วิกฤตต่าง ๆ ในชีวิตต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25105 ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล / กนกพร เรืองเพิ่มพูล in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล Original title : Effects of resillience-enhancing program on anxiety of nursing students Material Type: printed text Authors: กนกพร เรืองเพิ่มพูล, Author ; นฤมล สมรรคเสวี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp259-273. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp259-273.Keywords: นักศึกษาพยาบาล.โปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต.ความวิตกกังวล. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต และความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล จำนวน 30 ราย ชั้นปีทีีื 1 ของสถาบันการศึกษาพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการอาสาสมัคร แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง อย่างละ 15 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต ส่วนกลุ่มควบคุมเข้าร่วมกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยจัดให้ตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย โปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิต และแบบวัดความวิตกกังวล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติที พบว่า 1. หลังการทดลองนักศึกษาในกลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยคะแนนความแข็งแกร่งในชีวิตสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. หลังการทดลองนักศึกษาในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความวิตกกังวลต่ำกว่าก่อนการเข้าดปรแกรม และต่ำกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม และต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตสามารถเพิ่มความแข็งแกร่งในชีวิตและลดความวิตกกังวลในนักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24993 [article] ผลของโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตต่อความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล = Effects of resillience-enhancing program on anxiety of nursing students [printed text] / กนกพร เรืองเพิ่มพูล, Author ; นฤมล สมรรคเสวี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author . - 2015 . - pp259-273.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp259-273.Keywords: นักศึกษาพยาบาล.โปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต.ความวิตกกังวล. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต และความวิตกกังวลของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล จำนวน 30 ราย ชั้นปีทีีื 1 ของสถาบันการศึกษาพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการอาสาสมัคร แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง อย่างละ 15 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต ส่วนกลุ่มควบคุมเข้าร่วมกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยจัดให้ตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย โปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิต แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิต และแบบวัดความวิตกกังวล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติที พบว่า 1. หลังการทดลองนักศึกษาในกลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยคะแนนความแข็งแกร่งในชีวิตสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. หลังการทดลองนักศึกษาในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนความวิตกกังวลต่ำกว่าก่อนการเข้าดปรแกรม และต่ำกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม และต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตสามารถเพิ่มความแข็งแกร่งในชีวิตและลดความวิตกกังวลในนักศึกษาพยาบาลได้ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24993 โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ บรรยากาศในครอบครัว / พัชรินทร์ นินทจันทร์ in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.20 No.3 (Sep-Dec) 2014 ([03/19/2015])
[article]
Title : โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ บรรยากาศในครอบครัว : ความแ็งแกร่งในชีวิต และสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล Material Type: printed text Authors: พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author Publication Date: 2015 Article on page: หน้า 401-414 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.20 No.3 (Sep-Dec) 2014 [03/19/2015] . - หน้า 401-414Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24490 [article] โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ บรรยากาศในครอบครัว : ความแ็งแกร่งในชีวิต และสุขภาพจิตของนักศึกษาพยาบาล [printed text] / พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author . - 2015 . - หน้า 401-414.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.20 No.3 (Sep-Dec) 2014 [03/19/2015] . - หน้า 401-414Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24490