From this page you can:
Home |
Author details
Author ถาวรสวัสดิ์ อารยา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesรูปแบบการจัดกีฬาเพื่อสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุ / อารยา ถาวรสวัสดิ์ / 2556
Title : รูปแบบการจัดกีฬาเพื่อสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุ : รายงานการวิจัยเรื่อง Material Type: printed text Authors: อารยา ถาวรสวัสดิ์, Author ; กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, Author Publication Date: 2556 Pagination: 234 หน้า Layout: ภาพประกอบสี. Size: 26 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้สูงอายุ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ไทย -- วิจัยKeywords: ผู้สูงอายุ.
สุขภาพอนามัย.
วิจัย.Class number: WT100 อ653 2556 Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. หารูปแบบและแนวทางการจัดกีฬาเพื่อสขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่เหมาะสม 2. ศึกษาบทบาทของกรมพลศึกษาในการจัดกีฬาสำหรับผู้สูงอายุไทย ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ วิธีการศึกษาใช้เทคนิคเดลฟาย วิธีนี้เป็นการคาดการณ์ผลลัพธ์จากผลการรวบรวมคำตอบแบบสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญด้านกีฬา และสุขภาพของผู้สูงอายุ 25 คน ส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 รอบ รวบรวมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญโดยผู้เชี่ยวชาญไม่เผชิญหน้ากัน การตอบแบบสอบถามแต่ละรอบผู้เชี่ยวชาญสามารถปรับคำตอบได้ จนได้ผลคำตอบของกลุ่มที่สอดคล้องกัน ใช้สถิติมัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ในการประมวลผลหาความสอดคล้องกัน
ผลการศึกษา 1. การจัดกีฬาสำหรับผู้สูงอายุ กำหนดนิยามกีฬาผู้สูงอายุ คือ กิจกรรมการเคลื่อนไหวในลักษระการเล่น การออกกำลังกายภายใต้ กฎ กติกา อย่างเป็นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อพัฒนาสุขภาพทางกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคม ที่เหมาะสมกับวัยให้ผู้สูงอายุ กำหนดเกณฑ์อายุที่ 60 ปี ขึ้นไป รูปแบบการจัดกีฬาผู้สูงอายุมี 2 รุปแบบ คือ การจัดกีฬาเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ และการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อการแข่งขัน โดยการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อการแข่งขันเป็นการประเมินสภาวะร่างกายที่มีการพัฒนาความสนุกสนาน และผ่อนคลายความเครียด หลักการการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อสุขภาพ เพื่อฟูความแข็งแรงระบบต่าง ๆ ในร่างกาย (ระบบหัวใจและไหลเวียนโลหิต ระบบความแข็งแรงกล้ามเนื้อ และระบบความยืดหยุ่น) และจัดชนิดกีฬาให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายผู้สูงอายุและสามารถควบคุมความหนักเบาได้Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23941 รูปแบบการจัดกีฬาเพื่อสุขภาพ สำหรับผู้สูงอายุ : รายงานการวิจัยเรื่อง [printed text] / อารยา ถาวรสวัสดิ์, Author ; กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, Author . - 2556 . - 234 หน้า : ภาพประกอบสี. ; 26 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้สูงอายุ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัย
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ไทย -- วิจัยKeywords: ผู้สูงอายุ.
สุขภาพอนามัย.
วิจัย.Class number: WT100 อ653 2556 Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. หารูปแบบและแนวทางการจัดกีฬาเพื่อสขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่เหมาะสม 2. ศึกษาบทบาทของกรมพลศึกษาในการจัดกีฬาสำหรับผู้สูงอายุไทย ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ วิธีการศึกษาใช้เทคนิคเดลฟาย วิธีนี้เป็นการคาดการณ์ผลลัพธ์จากผลการรวบรวมคำตอบแบบสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญด้านกีฬา และสุขภาพของผู้สูงอายุ 25 คน ส่งแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญ 3 รอบ รวบรวมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญโดยผู้เชี่ยวชาญไม่เผชิญหน้ากัน การตอบแบบสอบถามแต่ละรอบผู้เชี่ยวชาญสามารถปรับคำตอบได้ จนได้ผลคำตอบของกลุ่มที่สอดคล้องกัน ใช้สถิติมัธยฐาน และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ ในการประมวลผลหาความสอดคล้องกัน
ผลการศึกษา 1. การจัดกีฬาสำหรับผู้สูงอายุ กำหนดนิยามกีฬาผู้สูงอายุ คือ กิจกรรมการเคลื่อนไหวในลักษระการเล่น การออกกำลังกายภายใต้ กฎ กติกา อย่างเป็นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพื่อพัฒนาสุขภาพทางกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคม ที่เหมาะสมกับวัยให้ผู้สูงอายุ กำหนดเกณฑ์อายุที่ 60 ปี ขึ้นไป รูปแบบการจัดกีฬาผู้สูงอายุมี 2 รุปแบบ คือ การจัดกีฬาเพื่อเสริมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ และการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อการแข่งขัน โดยการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อการแข่งขันเป็นการประเมินสภาวะร่างกายที่มีการพัฒนาความสนุกสนาน และผ่อนคลายความเครียด หลักการการจัดกีฬาผู้สูงอายุเพื่อสุขภาพ เพื่อฟูความแข็งแรงระบบต่าง ๆ ในร่างกาย (ระบบหัวใจและไหลเวียนโลหิต ระบบความแข็งแรงกล้ามเนื้อ และระบบความยืดหยุ่น) และจัดชนิดกีฬาให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายผู้สูงอายุและสามารถควบคุมความหนักเบาได้Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23941 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000398618 WT100 อ653 2556 Book Main Library General Shelf Available แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนกีฬาพื้นเมืองไทย / อารยา ถาวรสวัสดิ์ / กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา - 2555
Title : แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนกีฬาพื้นเมืองไทย : ในการพัฒนาพื้นฐานนักกีฬาไทยสู่ความเป็นเลิศ Material Type: printed text Authors: อารยา ถาวรสวัสดิ์, Author Publisher: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา Publication Date: 2555 Pagination: 319 หน้า. Layout: ภาพประกอบสี. Size: 29 cm. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Sport -- Thailand
[LCSH]การละเล่น -- ไทย
[LCSH]กีฬา -- ไทย
[LCSH]กีฬาพื้นเมือง -- ไทยKeywords: กีฬาพื้นเมือง.
กีฬาพื้นบ้าน.
วิจัยClass number: GV663 .T53 อ653 2555 Abstract: วัตถุประสงค์การศึกษาคือ การส่งเสริมให้นักเรียนในโรงเรียนทั้ง 4 ภาค ได้รู้จักวิธีการเล่นกีฬาพื้นเมืองไทย และโรงเรียนยังสามารถนำคุณค่า และประโยชน์จากการเล่นกีฬาพื้นเมืองไทยไปใช้พัฒนาทักษะและสมรรถนะพื้นฐานการเล่นกีฬาในโรงเรียน โดยใช้การศึกษา 3 วิธี คือ
1. การวิจัยเชิงสำรวจจากโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง 4 ภาค ในประเทศไทยภาคละ 100 โรงเรียน รวม 400 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม
2. การวิจัยกึ่งทดลองด้วยเทคนิคสังเกตพฤติกรรม โดยใช้แบบวิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการเล่นออกกำลัีงกายด้วยกีฬาพื้นเมืองไทย การประมวลข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย
3. การวิจัยเชิงทดลองคณะผู้วิจัยสร้างโปรแกรมการออกกำลังกายด้วยกีฬาพื้นเมืองไทย 5 โปรแกรม.
ผลการศึกษาสรุปได้ 8 ประการ
1. โรงเรียนตัวอย่างทั้ง 4 ภาค ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักวิธีการเล่น และให้เล่นกีฬาพื้นเมืองไทยในแต่ละภาคใน 3 โอกาส
2. โรงเรียนตัวอย่างทั้ง 4 ภาค ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักกีฬาพื้นเมืองไทย โดยการให้ครูผู้สอนวิชาพลศึกษาสอนในชั่วโมง
3. กีฬาพื้นเมืองไทยทั้ง 4 ภาค ให้คุณค่าทางด้านสังคมมากที่สุด ด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญาและอารมาณ์ รองลงมาตามลำดับ
4. กีฬาพื้นเมืองไทยช่วยพัฒนาสมรรถนะและทักษะพื้นฐานของนักกีฬาของโรงเรียน ไปสู่การเล่นกีฬาสากลทั้ง 18 ชนิด
5. ปัญหาการนำกีฬาพื้นเมืองไทยไปพััฒนาทักษะสมถรรนะ การเล่นกีฬาสากลของโรงเรียน คือ ขาดงบประมาณ ขาดอุปกรณ์ ขาดคู่มือการเล่นกีฬาพื้นเมืองไทย
6. โปรแกรมการออกกำลังกายด้วยกีฬาพื้นเมืองไทยทั้ง 4 ภาค ส่งผลให้นักเรียนได้รับคุณค่าทางด้านจิตใจ อารมณ์ สติปัญยา และสังคม ในระดับมากทุกด้าน
7. คุณค่าด้านทักษะการเคลื่อนไหวพื้นฐานของกีฬาพื้นเมืองไทย แต่าละชนิดทั้ง 4 ภาค ที่สามารถถ่ายโยงไปใช้เล่นกีฬาสากล ได้แก่ การเตะ การตบ การตี แการขว้าง และการปา อยู่ในระดับน้อย และเกือบน้อย
8. ผลการศึกษาโปรแกรมการออกกำลังกายด้วยกีฬาพื้นเมืองไทยทั้ง 4 ภาค ต่อสมรรถภาพทางกายของเด็กไทย สุขสมรรถนะของเด็กไทย รวมทั้งความฉลาดด้านต่าง ๆ ของเด็กไทย ได้แก่ ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์ ด้านการเคลื่อนไหวของร่างกาน หรือความฉลาดทางการเล่น พบว่า นักเรียนกลุ่มเข้าร่วมโปรแกรม มีสมรรถะภาพทางกาย สุขสมรรถนะ และความฉลาดด้านสติปัญญา อารมร์ และด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย หรือความฉลาดทางด้านการเล่นดีขึ้นอย่างชัดเจน
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23942 แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนกีฬาพื้นเมืองไทย : ในการพัฒนาพื้นฐานนักกีฬาไทยสู่ความเป็นเลิศ [printed text] / อารยา ถาวรสวัสดิ์, Author . - [S.l.] : กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2555 . - 319 หน้า. : ภาพประกอบสี. ; 29 cm.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Sport -- Thailand
[LCSH]การละเล่น -- ไทย
[LCSH]กีฬา -- ไทย
[LCSH]กีฬาพื้นเมือง -- ไทยKeywords: กีฬาพื้นเมือง.
กีฬาพื้นบ้าน.
วิจัยClass number: GV663 .T53 อ653 2555 Abstract: วัตถุประสงค์การศึกษาคือ การส่งเสริมให้นักเรียนในโรงเรียนทั้ง 4 ภาค ได้รู้จักวิธีการเล่นกีฬาพื้นเมืองไทย และโรงเรียนยังสามารถนำคุณค่า และประโยชน์จากการเล่นกีฬาพื้นเมืองไทยไปใช้พัฒนาทักษะและสมรรถนะพื้นฐานการเล่นกีฬาในโรงเรียน โดยใช้การศึกษา 3 วิธี คือ
1. การวิจัยเชิงสำรวจจากโรงเรียนกลุ่มตัวอย่าง 4 ภาค ในประเทศไทยภาคละ 100 โรงเรียน รวม 400 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม
2. การวิจัยกึ่งทดลองด้วยเทคนิคสังเกตพฤติกรรม โดยใช้แบบวิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับจากการเล่นออกกำลัีงกายด้วยกีฬาพื้นเมืองไทย การประมวลข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย
3. การวิจัยเชิงทดลองคณะผู้วิจัยสร้างโปรแกรมการออกกำลังกายด้วยกีฬาพื้นเมืองไทย 5 โปรแกรม.
ผลการศึกษาสรุปได้ 8 ประการ
1. โรงเรียนตัวอย่างทั้ง 4 ภาค ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักวิธีการเล่น และให้เล่นกีฬาพื้นเมืองไทยในแต่ละภาคใน 3 โอกาส
2. โรงเรียนตัวอย่างทั้ง 4 ภาค ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักกีฬาพื้นเมืองไทย โดยการให้ครูผู้สอนวิชาพลศึกษาสอนในชั่วโมง
3. กีฬาพื้นเมืองไทยทั้ง 4 ภาค ให้คุณค่าทางด้านสังคมมากที่สุด ด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญาและอารมาณ์ รองลงมาตามลำดับ
4. กีฬาพื้นเมืองไทยช่วยพัฒนาสมรรถนะและทักษะพื้นฐานของนักกีฬาของโรงเรียน ไปสู่การเล่นกีฬาสากลทั้ง 18 ชนิด
5. ปัญหาการนำกีฬาพื้นเมืองไทยไปพััฒนาทักษะสมถรรนะ การเล่นกีฬาสากลของโรงเรียน คือ ขาดงบประมาณ ขาดอุปกรณ์ ขาดคู่มือการเล่นกีฬาพื้นเมืองไทย
6. โปรแกรมการออกกำลังกายด้วยกีฬาพื้นเมืองไทยทั้ง 4 ภาค ส่งผลให้นักเรียนได้รับคุณค่าทางด้านจิตใจ อารมณ์ สติปัญยา และสังคม ในระดับมากทุกด้าน
7. คุณค่าด้านทักษะการเคลื่อนไหวพื้นฐานของกีฬาพื้นเมืองไทย แต่าละชนิดทั้ง 4 ภาค ที่สามารถถ่ายโยงไปใช้เล่นกีฬาสากล ได้แก่ การเตะ การตบ การตี แการขว้าง และการปา อยู่ในระดับน้อย และเกือบน้อย
8. ผลการศึกษาโปรแกรมการออกกำลังกายด้วยกีฬาพื้นเมืองไทยทั้ง 4 ภาค ต่อสมรรถภาพทางกายของเด็กไทย สุขสมรรถนะของเด็กไทย รวมทั้งความฉลาดด้านต่าง ๆ ของเด็กไทย ได้แก่ ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์ ด้านการเคลื่อนไหวของร่างกาน หรือความฉลาดทางการเล่น พบว่า นักเรียนกลุ่มเข้าร่วมโปรแกรม มีสมรรถะภาพทางกาย สุขสมรรถนะ และความฉลาดด้านสติปัญญา อารมร์ และด้านการเคลื่อนไหวร่างกาย หรือความฉลาดทางด้านการเล่นดีขึ้นอย่างชัดเจน
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23942 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000399087 GV663 .T53 อ653 2555 Book Main Library General Shelf Available