From this page you can:
Home |
Author details
Author ขอบทอง ลัดดา
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesเหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด / วัชรี มีศิลป์ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด : รายงานการวิจัย Material Type: printed text Authors: วัชรี มีศิลป์, Author ; ลัดดา ขอบทอง, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: ค, 51 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-773-998-4 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ยาบ้า
[LCSH]เฮโรอีน
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: เฮโรอีน.
ผู้ป่วย.
ยาบ้า.Class number: WM100 ว712 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีน ยาบ้า และเหตุผลการเปลี่ยนจากการเสพเฮโรอีนมาเป็นยาบ้า โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ด้วยการติดยาบ้า และมีประวัติการเสพติดเฮโรอีนมาก่อนจำนวนทั้งสิ้น 14 คน การเก็บข้อมูลเป็นการเก็บข้อมูลเชิงลึก ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน - 17 พฤษภาคม 2544 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพติดรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีนใน 2 ลักษณะคือ รู้ประโยชน์ของเฮโรอีนว่าเป็นสารแห่งความสุข และลดความเจ็บป่วย และรู้เกี่ยวกับโทษของเฮโรอีนว่าทำให้สุขภาพทรุดโทรม มีความทุกข์ทรมานมากเมื่อขาดเฮดรอีน มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางลบ ทำลายอนาคต และมีความรู้สึกทางเพศลดลง ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับยาบ้ามี 2 ลักษณะ เช่นกันคือ รับรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของยาบ้าว่า เป็นสารกระตุ้นประสาทที่ทำให้ร่างกายกระชุ่มกระชวย กล้าคิดกล้าทำ เป็นยาที่ทดแืทนเฮโรอีน ลดความเจ็บป่วยทางกาย และทำให้มีความต้องการทางเพศมากขึ้น ส่วนโทษของยาบ้า พบว่าทำให้บุคลิกกภาพเปลี่ยนไปในทางลงคือ ก้าวร้าวและหยาบคายมากขึ้น สุขภาพเสื่อมโทรมจากการขาดสารอาหาร หรือรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
ส่วนเหตุผลของการหันมาเสพยาบ้า คือ ในระยะเริ่มต้นเสพเกิดจากคำแนะนำจากกลุ่มเพือ่น และต้องการทดลอง ในระยะต่อมาผู้เสพติดตัดสินใจเสพยาบ้าด้วยเหตุผลที่ว่าเฮโรอีนหายากและแพงกว่ายาบ้า สามารถทดแทนอาการขาดเฮโรอีนได้ มีความพึงพอมจต่อฤทธิ์ของยาบ้า หาซื้อได้ง่าย เลิกเสพง่าย ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนที่เสพติด จากสมาชิกในครอบครัวว่ายาบ้ามีความรุนแรงน้อยกว่าเฮโรอีน และการได้รับการกระตุ้นจากสื่อโฆษณาต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ ด้านการป้องกัน เนื่องจากยาบ้ามีการวางขายกันมาก แม้ในที่สาธารณะ เช่น ตลาดนัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปกวดขันในสถานที่ต่าง ๆ ให้มากขึ้น ให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาบ้าแก่เยาวชน และประชาชนทั่วไป ด้านสื่อ ควรระมัดระวังในการให้ข้อมูลทางสื่อโฆษณาต่าง ๆ ให้มากขึ้นเนื่องจากการเสนอภาพยาบ้า หรือยาสเพติดในการจับกุมเอเยนต์ หรือผู้ขายอย่างชัดเจนเป็นการกระตุ้น หรือยั่วยุให้ผู้เสพติด หรือผู้เคยเสพมีความต้องการในการเสพได้ ในสถานบำบัดรักษายาเสพติดควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เสพติดในทางบวก วิธีการที่ถูกต้องในการสร้างความสุขให้ตนเองและมีระบบการส่งต่อ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีการอบรมหลักสูตรทางจิตเวชแก่บุคลากรต่าง ๆ เพิ่มขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23264 เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด : รายงานการวิจัย [printed text] / วัชรี มีศิลป์, Author ; ลัดดา ขอบทอง, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ค, 51 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-773-998-4 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ยาบ้า
[LCSH]เฮโรอีน
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: เฮโรอีน.
ผู้ป่วย.
ยาบ้า.Class number: WM100 ว712 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีน ยาบ้า และเหตุผลการเปลี่ยนจากการเสพเฮโรอีนมาเป็นยาบ้า โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ด้วยการติดยาบ้า และมีประวัติการเสพติดเฮโรอีนมาก่อนจำนวนทั้งสิ้น 14 คน การเก็บข้อมูลเป็นการเก็บข้อมูลเชิงลึก ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน - 17 พฤษภาคม 2544 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพติดรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีนใน 2 ลักษณะคือ รู้ประโยชน์ของเฮโรอีนว่าเป็นสารแห่งความสุข และลดความเจ็บป่วย และรู้เกี่ยวกับโทษของเฮโรอีนว่าทำให้สุขภาพทรุดโทรม มีความทุกข์ทรมานมากเมื่อขาดเฮดรอีน มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางลบ ทำลายอนาคต และมีความรู้สึกทางเพศลดลง ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับยาบ้ามี 2 ลักษณะ เช่นกันคือ รับรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของยาบ้าว่า เป็นสารกระตุ้นประสาทที่ทำให้ร่างกายกระชุ่มกระชวย กล้าคิดกล้าทำ เป็นยาที่ทดแืทนเฮโรอีน ลดความเจ็บป่วยทางกาย และทำให้มีความต้องการทางเพศมากขึ้น ส่วนโทษของยาบ้า พบว่าทำให้บุคลิกกภาพเปลี่ยนไปในทางลงคือ ก้าวร้าวและหยาบคายมากขึ้น สุขภาพเสื่อมโทรมจากการขาดสารอาหาร หรือรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
ส่วนเหตุผลของการหันมาเสพยาบ้า คือ ในระยะเริ่มต้นเสพเกิดจากคำแนะนำจากกลุ่มเพือ่น และต้องการทดลอง ในระยะต่อมาผู้เสพติดตัดสินใจเสพยาบ้าด้วยเหตุผลที่ว่าเฮโรอีนหายากและแพงกว่ายาบ้า สามารถทดแทนอาการขาดเฮโรอีนได้ มีความพึงพอมจต่อฤทธิ์ของยาบ้า หาซื้อได้ง่าย เลิกเสพง่าย ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนที่เสพติด จากสมาชิกในครอบครัวว่ายาบ้ามีความรุนแรงน้อยกว่าเฮโรอีน และการได้รับการกระตุ้นจากสื่อโฆษณาต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ ด้านการป้องกัน เนื่องจากยาบ้ามีการวางขายกันมาก แม้ในที่สาธารณะ เช่น ตลาดนัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปกวดขันในสถานที่ต่าง ๆ ให้มากขึ้น ให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาบ้าแก่เยาวชน และประชาชนทั่วไป ด้านสื่อ ควรระมัดระวังในการให้ข้อมูลทางสื่อโฆษณาต่าง ๆ ให้มากขึ้นเนื่องจากการเสนอภาพยาบ้า หรือยาสเพติดในการจับกุมเอเยนต์ หรือผู้ขายอย่างชัดเจนเป็นการกระตุ้น หรือยั่วยุให้ผู้เสพติด หรือผู้เคยเสพมีความต้องการในการเสพได้ ในสถานบำบัดรักษายาเสพติดควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เสพติดในทางบวก วิธีการที่ถูกต้องในการสร้างความสุขให้ตนเองและมีระบบการส่งต่อ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีการอบรมหลักสูตรทางจิตเวชแก่บุคลากรต่าง ๆ เพิ่มขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23264 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355170 THE WM100 ว712 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available