From this page you can:
Home |
Author details
Author บุญศิลป์, สุนีย์รัตน์ (2520-)
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป / สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between personal factors, nursing career vitality, internal locus of control, and career commitment of professional nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฎ, 98 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-174-443-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: พยาบาลวืชาชีพ.
วิืชาชีพพยาบาล.
ความผูกพัน.Class number: WY100 ส845 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตน กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพลังวิชาชีพพยาบาล แบบสอบถามความเชื่ออำนาจภายในตนและแบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .83, .86 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.71 S.D. = .43) 2. พลังวิชาชีพพยาบาลและความเชื่ออำนาจภายในตนของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.53 S.D. = .40, [Mean] = 3.95 S.D. = .37 ตามลำดับ) 3. ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุและประสบการณ์การทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (r = .13 และ .12 ตามลำดับ) แต่ระดับการศึกษาและสถานภาพสมรสไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป 4. พลังวิชาชีพพยาบาล และความเชื่ออำนาจภายในตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50 และ .61 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23173 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป = Relationships between personal factors, nursing career vitality, internal locus of control, and career commitment of professional nurses, general hospitals [printed text] / สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฎ, 98 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-174-443-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: พยาบาลวืชาชีพ.
วิืชาชีพพยาบาล.
ความผูกพัน.Class number: WY100 ส845 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตน กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพลังวิชาชีพพยาบาล แบบสอบถามความเชื่ออำนาจภายในตนและแบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .83, .86 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.71 S.D. = .43) 2. พลังวิชาชีพพยาบาลและความเชื่ออำนาจภายในตนของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.53 S.D. = .40, [Mean] = 3.95 S.D. = .37 ตามลำดับ) 3. ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุและประสบการณ์การทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (r = .13 และ .12 ตามลำดับ) แต่ระดับการศึกษาและสถานภาพสมรสไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป 4. พลังวิชาชีพพยาบาล และความเชื่ออำนาจภายในตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50 และ .61 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23173 ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ / สมจิตต์ สินธุชัย in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ : ความพึงพอใจและความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 ในการฝึกปฏิบัติรายวิชาฝึกทักษะทางวิชาชีพก่อนสำเร็จการศึกษา Material Type: printed text Authors: สมจิตต์ สินธุชัย, Author ; กันยารัตน์ อุบลวรรณ, Author ; สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author Publication Date: 2017 Article on page: p.113-127 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.113-127Keywords: การจัดการเรียนรู้.สถานการณ์จำลองเสมือนจริง.ความรู้ของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4ความพึงพอใจในตนเองนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ทักษะทางวิชาชีพ. Abstract: เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ ความพึงพอใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี จำนวน 69 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้กลุ่มทดลองจำนวน 34 ราย และกลุ่มควบคุม 35 ราย ดำเนินการสอนกลุ่มทดลองโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง จำนวน 4 สถานการณ์ครั้งละ 60 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมสอนปกติตามหลักสูตร
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดความรู้ ความพึงพอใจ ความมั่นใจในตนเอง
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยายและการทดสอบค่าที
ผลการวิจัย พบว่า
1. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
2. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีคะแนนเฉลียความรู้ ความพึงพอใจ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่านักศึกษาที่เรียนโดยวิธีปกติตามหลักสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการสนทนากลุ่ม พบว่า นศ.ที่เรียนรู้โดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงได้รับความรู้จากการเรียนเรื่องหลักการประเเมินสภาพผู้ป่วย การรักษา และการพยาบาล ซึ่งความรู้เหล่านี้สามารถจดจำได้นาน ประสบการณ์จากการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงทำให้ผู้เรียนพึงพอใจในเรื่องการคิด และการตัดสินใจที่เร็วขึ้น และนักศึกษาส่วนใหญ่มีึความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลมากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการประเมินสภาพผู้ป่วย และการลำดับความสำคับของการพยาบาล
ผลการวิจัยนี้ เป็นข้อมูลสนับสนุนในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองชนิดเสมือนจริงสำหรับนักศึกษาพยาบาลLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27069 [article] ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ : ความพึงพอใจและความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 ในการฝึกปฏิบัติรายวิชาฝึกทักษะทางวิชาชีพก่อนสำเร็จการศึกษา [printed text] / สมจิตต์ สินธุชัย, Author ; กันยารัตน์ อุบลวรรณ, Author ; สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author . - 2017 . - p.113-127.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.113-127Keywords: การจัดการเรียนรู้.สถานการณ์จำลองเสมือนจริง.ความรู้ของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4ความพึงพอใจในตนเองนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ทักษะทางวิชาชีพ. Abstract: เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ ความพึงพอใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี จำนวน 69 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้กลุ่มทดลองจำนวน 34 ราย และกลุ่มควบคุม 35 ราย ดำเนินการสอนกลุ่มทดลองโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง จำนวน 4 สถานการณ์ครั้งละ 60 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมสอนปกติตามหลักสูตร
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดความรู้ ความพึงพอใจ ความมั่นใจในตนเอง
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยายและการทดสอบค่าที
ผลการวิจัย พบว่า
1. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
2. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีคะแนนเฉลียความรู้ ความพึงพอใจ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่านักศึกษาที่เรียนโดยวิธีปกติตามหลักสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการสนทนากลุ่ม พบว่า นศ.ที่เรียนรู้โดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงได้รับความรู้จากการเรียนเรื่องหลักการประเเมินสภาพผู้ป่วย การรักษา และการพยาบาล ซึ่งความรู้เหล่านี้สามารถจดจำได้นาน ประสบการณ์จากการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงทำให้ผู้เรียนพึงพอใจในเรื่องการคิด และการตัดสินใจที่เร็วขึ้น และนักศึกษาส่วนใหญ่มีึความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลมากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการประเมินสภาพผู้ป่วย และการลำดับความสำคับของการพยาบาล
ผลการวิจัยนี้ เป็นข้อมูลสนับสนุนในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองชนิดเสมือนจริงสำหรับนักศึกษาพยาบาลLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27069