From this page you can:
Home |
Author details
Author อุทิศ เพ็ญพักตร์
Available item(s) by this author



การเผชิญกับภัยพิบัติ / Ehrenreich, John H. / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : การเผชิญกับภัยพิบัติ : คู่มือปฎิบัติการช่วยเหลือดูแลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภัย Original title : Coping with disasters : a guidebook to psychosocial intervention Material Type: printed text Authors: Ehrenreich, John H., Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Translator Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: 185 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-999-564-3 General note: สนับสนุนโดยองค์การอนามัียโลก และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ประสบภัย -- บริการสุขภาพจิต
[LCSH]ผู้ประสบภัย -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ
[LCSH]ภัยพิบัติ -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]สุขภาพจิต, การบริการKeywords: ภัยพิบัีติ.
การช่วยเหลือ.
จิตวิทยา.
การบริการ.Class number: RA790 อ935 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22981 การเผชิญกับภัยพิบัติ = Coping with disasters : a guidebook to psychosocial intervention : คู่มือปฎิบัติการช่วยเหลือดูแลด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภัย [printed text] / Ehrenreich, John H., Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Translator . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - 185 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISSN : 978-974-999-564-3
สนับสนุนโดยองค์การอนามัียโลก และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ประสบภัย -- บริการสุขภาพจิต
[LCSH]ผู้ประสบภัย -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ
[LCSH]ภัยพิบัติ -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]สุขภาพจิต, การบริการKeywords: ภัยพิบัีติ.
การช่วยเหลือ.
จิตวิทยา.
การบริการ.Class number: RA790 อ935 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22981 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000352318 RA790 อ935 2549 Book Main Library Library Counter Not for loan ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ / พุฒิชาดา จันทะคุณ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE Material Type: printed text Authors: พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.88-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 [article] ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE [printed text] / พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.88-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน / โสภา ตั้งทีฆกูล in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน Original title : The effect of integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in community Material Type: printed text Authors: โสภา ตั้งทีฆกูล, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.133-147 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.133-147Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิต ภาวะซึมเศร้า โรคซึมเศร้า.Perceived stressful life event. Depression. Depressive disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน
วิธีดำเนินการ: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 20-59 ปี ซึ่งเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่ให้มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกันในเรื่อง อายุ เพศ และคะแนนภาวะซึมเศร้า จากนั้นได้รับการสุ่มเข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน 2) แบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และ 3) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า ซึ่งโปรแกรมฯ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือแบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และแบบประเมินภาวะซึมเศร้า มีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .91 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติที
ผลการศึกษา: 1) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 29.442, p < .05) 2) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 12.668, p <.05).
Objective: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to determine the effect of the integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in the community.
Method: The subjects were 40 patients diagnosed with depressive disorder, aged of 20-59 years, at the psychiatric clinic, out-patient department of a community hospital. They were matched pairs by sex, similar age and depression scores and then randomly assigned into the experimental and control groups, 20 subjects in each group. The experimental group received the integrated perceived stressful life event management program whereas the control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the integrated perceived stressful life event management program, life stress event questionnaire and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression. The integrated perceived stressful life event management program was validated for content validity by 5 professional experts. Reliability of the life stress event and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression were reported by Cronbach,s Alpha coefficient as of .91 and .82, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, dependent and independent t-tests.
Results:1) The depression of patients with depressive disorder in the community after receiving the integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that before (t = 29.442, p < .05) 2) The depression of depressive disorder patients in the community after received integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that of those who receiving routine nursing care (t = 12.668, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27476 [article] ผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสานต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน = The effect of integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in community [printed text] / โสภา ตั้งทีฆกูล, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.133-147.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.133-147Keywords: การรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิต ภาวะซึมเศร้า โรคซึมเศร้า.Perceived stressful life event. Depression. Depressive disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน ต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชน
วิธีดำเนินการ: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าอายุ 20-59 ปี ซึ่งเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่คลินิกจิตเวช โรงพยาบาลชุมชน จำนวน 40 คน ได้รับการจับคู่ให้มีคุณลักษณะที่ใกล้เคียงกันในเรื่อง อายุ เพศ และคะแนนภาวะซึมเศร้า จากนั้นได้รับการสุ่มเข้าเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน 2) แบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และ 3) แบบประเมินภาวะซึมเศร้า ซึ่งโปรแกรมฯ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่าน เครื่องมือแบบสอบถามเหตุการณ์เครียดในชีวิต และแบบประเมินภาวะซึมเศร้า มีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ .91 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติที
ผลการศึกษา: 1) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้า หลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับการรับรู้เหตุการณ์เครียดในชีวิตแบบผสมผสาน มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 29.442, p < .05) 2) ผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฯ มีระดับภาวะซึมเศร้าต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 12.668, p <.05).
Objective: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to determine the effect of the integrated perceived stressful life event management program on depression of depressive disorder patients in the community.
Method: The subjects were 40 patients diagnosed with depressive disorder, aged of 20-59 years, at the psychiatric clinic, out-patient department of a community hospital. They were matched pairs by sex, similar age and depression scores and then randomly assigned into the experimental and control groups, 20 subjects in each group. The experimental group received the integrated perceived stressful life event management program whereas the control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the integrated perceived stressful life event management program, life stress event questionnaire and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression. The integrated perceived stressful life event management program was validated for content validity by 5 professional experts. Reliability of the life stress event and the Thai Hamilton Rating Scale for Depression were reported by Cronbach,s Alpha coefficient as of .91 and .82, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, dependent and independent t-tests.
Results:1) The depression of patients with depressive disorder in the community after receiving the integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that before (t = 29.442, p < .05) 2) The depression of depressive disorder patients in the community after received integrated perceived stressful life event management program was significantly lower than that of those who receiving routine nursing care (t = 12.668, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27476 ผลของโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์ต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรม / ใบเรียม เงางาม in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.2 (May-Aug) 2015 ([12/08/2015])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์ต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรม Original title : The effect of the emotions management program on depression in early adolescents with behavioral problems Material Type: printed text Authors: ใบเรียม เงางาม, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2015 Article on page: น.116-127 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.2 (May-Aug) 2015 [12/08/2015] . - น.116-127Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดสองครั้งก่อนและหลังการทดลอง เพื่อ 1.เปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรมก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการจัดการอารมณ์ 2 เปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีีปัญหาพฤติกรรมระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์กับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรมจากโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดสิงห์บุรี และมีคณสมบัติตามเกณฑ์จำนวน 40 คน ทำการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วยการดำเนินกลุ่ม 8 ครั้ง เพื่อพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การผ่อนคลายการปรับความคิดและพฤติกรรมทักษะทางสังคม ทักษะการสื่อสาร ทักษะการแก้ปัญหาและการเจรจาต่อรอง ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1. โปรแกรมการจัดการกับอารมณ์ 2 แบบวัดภาวะซึมเศร้าในเด็ก และ 3. แบบประเมินปัญหาพฤติกรรม ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน โดยเครื่องมือสองชุดหลัง มีค่าความเที่ยงตรงสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคเท่ากัน .88 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรม หลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรม กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25110 [article] ผลของโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์ต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรม = The effect of the emotions management program on depression in early adolescents with behavioral problems [printed text] / ใบเรียม เงางาม, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2015 . - น.116-127.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.2 (May-Aug) 2015 [12/08/2015] . - น.116-127Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดสองครั้งก่อนและหลังการทดลอง เพื่อ 1.เปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรมก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการจัดการอารมณ์ 2 เปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีีปัญหาพฤติกรรมระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์กับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรมจากโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดสิงห์บุรี และมีคณสมบัติตามเกณฑ์จำนวน 40 คน ทำการจับคู่แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วยการดำเนินกลุ่ม 8 ครั้ง เพื่อพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การผ่อนคลายการปรับความคิดและพฤติกรรมทักษะทางสังคม ทักษะการสื่อสาร ทักษะการแก้ปัญหาและการเจรจาต่อรอง ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1. โปรแกรมการจัดการกับอารมณ์ 2 แบบวัดภาวะซึมเศร้าในเด็ก และ 3. แบบประเมินปัญหาพฤติกรรม ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน โดยเครื่องมือสองชุดหลัง มีค่าความเที่ยงตรงสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคเท่ากัน .88 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรม หลังได้รับโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้นที่มีปัญหาพฤติกรรม กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการกับอารมณ์ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25110 ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม / ขุมทรัพย์ ก้อนทอง in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม : ต่ออาการด้านลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน Original title : Cognitive behavior therapy program on the negative symtoms of schizophrenic patients in Material Type: printed text Authors: ขุมทรัพย์ ก้อนทอง, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.36-51 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: negative symptoms. cognitive behavioral therapy. Schizophrenic patients in community. อาการทางลบ. บำบัดทางพฤติกรรม. ความคิด. ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิด และอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิดกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทอายุ 20-59 ปี ที่เข้ารับการรักษาแบบผู่ป่วยนอกที่สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 คน โดยจับคู่โดยจับคู่ระยะเวลาการเจ็บป่วยทางจิตและคะแนนอาการทางจิตเหมือนกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการบำบัดการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ1)โปรแกรมการบำบัดทางความคิดพฤติกรรม 2) แบบประเมินอาการทางลบ และ 3) แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินอาการทางลบและแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ เท่ากับ .86 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบ ดังนี้
1. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
2. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
สรุป: โปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด มีประสิทธิผลในการลดอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภท โปรแกรมส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยในการบ่งชี้อาการทางลบ ปรับการคิดที่ถูกต้องและนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและแสดงออกที่เหมาะสมต่อสถานการณ์
Abstract
Objectives: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to examine the effect of cognitive behavioral therapy program on negative symptoms of schizophrenic patients in community.
Methods: Subjects were 40 schizophrenic patients, aged 20-59 years, at the out-patient department in a psychiatric hospital, Ministry of Public Health. They were matched pair with illness duration and score of psychiatric symptom and then randomly assigned to the experimental and control groups, 20 in each group. The experimental group received cognitive behavioral therapy. The control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the cognitive behavioral therapy program, negative symptoms test and automatic negative thought test. All instruments were tested for content validity. Reliability of the negative symptom test and automatic negative thought test were .82 and .82, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and t-tests.
Results: Findings were as follows:
1. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after receiving the cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that before (p < .05).
2. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after received cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that of those who receiving routine
nursing care (p < .05).
Conclusions: The results suggest that the cognitive behavioral therapy program is effective in reducing negative symptoms of schizophrenic patients. The program promotes patients’ new skill to identify negative thoughts, form adaptive thoughts, and alter maladaptive behavior patterns to adjust to particular situations.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27369 [article] ผลของโปรแกรมการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม = Cognitive behavior therapy program on the negative symtoms of schizophrenic patients in : ต่ออาการด้านลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน [printed text] / ขุมทรัพย์ ก้อนทอง, Author ; วีณา จีระแพทย์, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.36-51.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.36-51Keywords: negative symptoms. cognitive behavioral therapy. Schizophrenic patients in community. อาการทางลบ. บำบัดทางพฤติกรรม. ความคิด. ผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิด และอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรม ความคิดกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยจิตเภทอายุ 20-59 ปี ที่เข้ารับการรักษาแบบผู่ป่วยนอกที่สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์กรมสุขภาพจิตกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ20 คน โดยจับคู่โดยจับคู่ระยะเวลาการเจ็บป่วยทางจิตและคะแนนอาการทางจิตเหมือนกัน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการบำบัดการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ1)โปรแกรมการบำบัดทางความคิดพฤติกรรม 2) แบบประเมินอาการทางลบ และ 3) แบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาค่าความเที่ยงของแบบประเมินอาการทางลบและแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ เท่ากับ .86 และ .82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติทดสอบที
ผลการศึกษา: ผลการวิจัยพบ ดังนี้
1. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม ฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
2. อาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภทในชุมชนกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05 )
สรุป: โปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิด มีประสิทธิผลในการลดอาการทางลบของผู้ป่วยจิตเภท โปรแกรมส่งเสริมทักษะของผู้ป่วยในการบ่งชี้อาการทางลบ ปรับการคิดที่ถูกต้องและนำไปสู่การปรับพฤติกรรมและแสดงออกที่เหมาะสมต่อสถานการณ์
Abstract
Objectives: The purpose of this quasiexperimental pretest-posttest with control group research design was to examine the effect of cognitive behavioral therapy program on negative symptoms of schizophrenic patients in community.
Methods: Subjects were 40 schizophrenic patients, aged 20-59 years, at the out-patient department in a psychiatric hospital, Ministry of Public Health. They were matched pair with illness duration and score of psychiatric symptom and then randomly assigned to the experimental and control groups, 20 in each group. The experimental group received cognitive behavioral therapy. The control group received routine nursing care. Research instruments consisted of the cognitive behavioral therapy program, negative symptoms test and automatic negative thought test. All instruments were tested for content validity. Reliability of the negative symptom test and automatic negative thought test were .82 and .82, respectively. Data were analyzed by descriptive statistics, and t-tests.
Results: Findings were as follows:
1. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after receiving the cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that before (p < .05).
2. The negative symptoms of schizophrenic patients in community after received cognitive behavioral therapy program was significantly lower than that of those who receiving routine
nursing care (p < .05).
Conclusions: The results suggest that the cognitive behavioral therapy program is effective in reducing negative symptoms of schizophrenic patients. The program promotes patients’ new skill to identify negative thoughts, form adaptive thoughts, and alter maladaptive behavior patterns to adjust to particular situations.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27369 ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล / ณิชาภัทร มณีพันธ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 ([10/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล Original title : The effects of group psychoeducation program of nursing students Material Type: printed text Authors: ณิชาภัทร มณีพันธ์, Author ; สุวนีย์ เกี่ยวกิ่งแก้ว, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.80-91 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.80-91Keywords: group psychoeducation program. depression. nursing students. โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาภาวะซึมเศร้า. นักศึกษาพยาบาล. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล
วิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลเพศหญิงอายุระหว่าง 18-20 ปี มีคะแนนภาวะซึมเศร้าที่วัดโดยแบบประเมินภาวะซึมเศร้า อยู่ระหว่าง 21-34คะแนน จัดเป็นภาวะซึมเศร้าในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง จำนวน 60 คน แบ่งเข้ากลุ่มทดลองและกล่มุ ควบคุม กล่มุ ละ 30 คน กล่มุ ทดลองได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา เป็นเวลา 4 สัปดาห์ในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติของมหาวิทยาลัยเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าฉบับภาษาไทยวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ pair t-test และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศรา้ ระหว่างกลมุ่ทดลองและกลมุ่ ควบคุมก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ independent t-test
ผลการศึกษา: ภายหลังการให้โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้า ต่ำกว่าก่อนการให้สุขภาพจิตศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 9.68, p < .05) ในขณะที่คะแนนภาวะซึมเศร้าของกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (t = 1.96, p > .05) ส่วนคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรม
สุขภาพจิตศึกษาภายหลังการทดลองต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(t = 9.68, p < .05)
สรุปผลการศึกษา: โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่ม สามารถลดภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล
Abstract
Objective: To determine the effect of a group psychoeducation program on depression among nursing students.
Methods: This was a quasi- experimental research design. Samples consisted of 60 nursing
students whose depression scores, assessed by the Thai Depressive Inventory (TDI), were ranged between 21 and 34, mild to moderate level of depression. Sixty of them, all female, age between 18-20, were selected according to the study criteria and were assigned to the study group and the control group, 30 in each group. The subjects in the study group participated in the 4-weeks, group psychoeducation program, while the control group was treated normally. The instruments employed in the study were a 4 - week group psychoeducation program, a personal data sheet, and Thai Depression Inventory (TDI).
Four weeks after finishing the psychoeducation program both the study and control groups
were asked to complete the TDI again, and the scores were analyzed, using a paired t-test within the groups and an independent t-test between groups.
Results: After participating in the group psychoeducation program, the depression score for
the study group was significantly lower than the depression score before joining the psychoeducation program (t = 9.68, p < .05), while the depression score for the control group remained the same (t = 1.96, p >.05). The depression score for the study group was significantly lower than the depression score for the routine care (t = 9.68, p < .05).
Conclusion: The study suggests that the group psychoeducation program was effective in
helping reduce the depression level among nursing students.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27374 [article] ผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล = The effects of group psychoeducation program of nursing students [printed text] / ณิชาภัทร มณีพันธ์, Author ; สุวนีย์ เกี่ยวกิ่งแก้ว, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.80-91.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.80-91Keywords: group psychoeducation program. depression. nursing students. โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาภาวะซึมเศร้า. นักศึกษาพยาบาล. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่มต่อภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล
วิธีการศึกษา: การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลเพศหญิงอายุระหว่าง 18-20 ปี มีคะแนนภาวะซึมเศร้าที่วัดโดยแบบประเมินภาวะซึมเศร้า อยู่ระหว่าง 21-34คะแนน จัดเป็นภาวะซึมเศร้าในระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง จำนวน 60 คน แบ่งเข้ากลุ่มทดลองและกล่มุ ควบคุม กล่มุ ละ 30 คน กล่มุ ทดลองได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา เป็นเวลา 4 สัปดาห์ในขณะที่กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติของมหาวิทยาลัยเครื่องมือรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าฉบับภาษาไทยวิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าภายในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ pair t-test และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศรา้ ระหว่างกลมุ่ทดลองและกลมุ่ ควบคุมก่อนและหลังการทดลองด้วยสถิติ independent t-test
ผลการศึกษา: ภายหลังการให้โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา นักศึกษากลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้า ต่ำกว่าก่อนการให้สุขภาพจิตศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 9.68, p < .05) ในขณะที่คะแนนภาวะซึมเศร้าของกลุ่มควบคุมไม่มีความแตกต่างกัน (t = 1.96, p > .05) ส่วนคะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรม
สุขภาพจิตศึกษาภายหลังการทดลองต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ(t = 9.68, p < .05)
สรุปผลการศึกษา: โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาแบบกลุ่ม สามารถลดภาวะซึมเศร้าของนักศึกษาพยาบาล
Abstract
Objective: To determine the effect of a group psychoeducation program on depression among nursing students.
Methods: This was a quasi- experimental research design. Samples consisted of 60 nursing
students whose depression scores, assessed by the Thai Depressive Inventory (TDI), were ranged between 21 and 34, mild to moderate level of depression. Sixty of them, all female, age between 18-20, were selected according to the study criteria and were assigned to the study group and the control group, 30 in each group. The subjects in the study group participated in the 4-weeks, group psychoeducation program, while the control group was treated normally. The instruments employed in the study were a 4 - week group psychoeducation program, a personal data sheet, and Thai Depression Inventory (TDI).
Four weeks after finishing the psychoeducation program both the study and control groups
were asked to complete the TDI again, and the scores were analyzed, using a paired t-test within the groups and an independent t-test between groups.
Results: After participating in the group psychoeducation program, the depression score for
the study group was significantly lower than the depression score before joining the psychoeducation program (t = 9.68, p < .05), while the depression score for the control group remained the same (t = 1.96, p >.05). The depression score for the study group was significantly lower than the depression score for the routine care (t = 9.68, p < .05).
Conclusion: The study suggests that the group psychoeducation program was effective in
helping reduce the depression level among nursing students.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27374