From this page you can:
Home |
Author details
Author สุนีย์ ละกำปั่น
Available item(s) by this author
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในวัยรุ่นโดยประยุกต์ / นะฤเนตร จุฬากาญจน์ in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.29 No.1 (Jan-Apr) 2015 ([06/09/2015])
[article]
Title : การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในวัยรุ่นโดยประยุกต์ : หลักการคิดแบบพุทธธรรม Material Type: printed text Authors: นะฤเนตร จุฬากาญจน์, Author ; จารุวรรณ ไผ่ตระกูล, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.132-143 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.29 No.1 (Jan-Apr) 2015 [06/09/2015] . - p.132-143Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24722 [article] การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ในวัยรุ่นโดยประยุกต์ : หลักการคิดแบบพุทธธรรม [printed text] / นะฤเนตร จุฬากาญจน์, Author ; จารุวรรณ ไผ่ตระกูล, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author . - 2015 . - p.132-143.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.29 No.1 (Jan-Apr) 2015 [06/09/2015] . - p.132-143Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24722 การพัฒนาศักยภาพชุมชน / วีณา เที่ยงธรรม / กรุงเทพฯ : ภาควิชาการพยาบาลสาธรณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล - 2555
Title : การพัฒนาศักยภาพชุมชน : แนวคิดและการประยุกต์ใช้ Original title : Community capacity building : concept and application Material Type: printed text Authors: วีณา เที่ยงธรรม ; สุนีย์ ละกำปั่น ; อาภาพร เผ่าวัฒนา ; มหาวิทยาลัยมหิดล Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: กรุงเทพฯ : ภาควิชาการพยาบาลสาธรณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2555 Pagination: 200 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 978-6-16-740727-2 General note: School of Nursing. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ชุมชน Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21824 การพัฒนาศักยภาพชุมชน = Community capacity building : concept and application : แนวคิดและการประยุกต์ใช้ [printed text] / วีณา เที่ยงธรรม ; สุนีย์ ละกำปั่น ; อาภาพร เผ่าวัฒนา ; มหาวิทยาลัยมหิดล . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - กรุงเทพฯ : ภาควิชาการพยาบาลสาธรณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555 . - 200 หน้า : ภาพประกอบ.
ISBN : 978-6-16-740727-2
School of Nursing.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ชุมชน Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21824 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000313369 RA440 ว815 2555 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000313351 RA440 ว815 2555 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000313344 RA440 ว815 2555 c.3 Book Main Library General Shelf Available Readers who borrowed this document also borrowed:
ตำราการตรวจรักษาทั่วไป 2 สุรเกียรติ อาชานานุภาพ การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น วราภรณ์ บุญเชียง การพยาบาลครอบครัว จินตนา วัชรสินธุ์ การประเมินภาวะสุขภาพสำหรับพยาบาล: การตรวจร่างกาย ภาสกร, เนตรทิพย์วัลย์ การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชน / อาภาพร เผ่าวัฒนา / ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา - 2556
Title : การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชน : การประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีสู่การปฏิบัติ Original title : Health promotion and disease prevention in community : an application of concepts and theories to practice Material Type: printed text Authors: อาภาพร เผ่าวัฒนา, Author ; สุรินธร กลัมพากร ; สุนีย์ ละกำปั่น ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา Publication Date: 2556 Pagination: ญ, 250 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-223147-6 Price: 300.00 General note: ได้รับการสนับสนุนจากภาควิชาการสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การส่งเสริมสุขภาพ
[LCSH]สุขภาพ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]โรค -- การป้องกันและควบคุมClass number: WA590 ก523 2556 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25491 การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชน = Health promotion and disease prevention in community : an application of concepts and theories to practice : การประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีสู่การปฏิบัติ [printed text] / อาภาพร เผ่าวัฒนา, Author ; สุรินธร กลัมพากร ; สุนีย์ ละกำปั่น ; ขวัญใจ อำนาจสัตย์ซื่อ . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - [S.l.] : ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา, 2556 . - ญ, 250 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-223147-6 : 300.00
ได้รับการสนับสนุนจากภาควิชาการสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การส่งเสริมสุขภาพ
[LCSH]สุขภาพ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]โรค -- การป้องกันและควบคุมClass number: WA590 ก523 2556 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25491 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000504074 WA590 ก523 2556 c.1 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000504058 WA590 ก523 2556 c.2 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000504066 WA590 ก523 2556 c.3 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000503993 WA590 ก523 2556 c.10 Book Main Library Library Counter Available 32002000504009 WA590 ก523 2556 c.11 Book Main Library Library Counter Available 32002000503969 WA590 ก523 2556 c.12 Book Main Library Library Counter Due for return by 01/06/2025 32002000503951 WA590 ก523 2556 c.13 Book Main Library Library Counter Available 32002000503944 WA590 ก523 2556 c.14 Book Main Library Library Counter Available 32002000503936 WA590 ก523 2556 c.15 Book Main Library Library Counter Available 32002000504041 WA590 ก523 2556 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000504033 WA590 ก523 2556 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000504025 WA590 ก523 2556 c.6 Book Main Library Library Counter Due for return by 04/03/2024 32002000504017 WA590 ก523 2556 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000503977 WA590 ก523 2556 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000503985 WA590 ก523 2556 c.9 Book Main Library Library Counter Available Readers who borrowed this document also borrowed:
การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น วราภรณ์ บุญเชียง รอยเวลา : เส้นทางประวัติศาสตร์สุขภาพ นภนาท, อนุพงศ์พัฒน์ การประเมินภาวะสุขภาพ รักชนก, คชไกร การพยาบาลชุมชน ศิวพร, อึ้งวัฒนา ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน : การใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทีี่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ Original title : Impact of a medication literacy programme on uncontrolled type 2 diabetic patients's health literacy on medication and medication Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.50-62 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.50-62Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. โปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยา.ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยา. ความร่วมมือในการใช้ยา. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำรให้การศึกษาในการใช้ยาต่อ
ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่เครือข่ายบริการสุขภาพของโรงพยาบาลหนองเสือ 4 แห่ง กลุ่มทดลองจำนวน 29 คนได้รับโปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยาจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมจำนวน 29 คนได้รับการดูแลตามปกติจากคลินิกโรคเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนำ และทดสอบสมมติฐานด้วย repeated measure ANOVA, Bonferroni และ independent t-test,
ผลการวิจัย: หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาลดลงจากหลังการทดลองแต่มากกว่าก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลอง (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาไม่ต่างจากหลังการทดลองแต่ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุม
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาCurricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27049 [article] ผลของโปรแกรมการให้ความรู้ในการใช้ยาต่อความฉลาดทางสุขภาพด้าน = Impact of a medication literacy programme on uncontrolled type 2 diabetic patients's health literacy on medication and medication : การใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ทีี่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.50-62.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.50-62Keywords: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2. โปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยา.ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยา. ความร่วมมือในการใช้ยา. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์การวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมกำรให้การศึกษาในการใช้ยาต่อ
ความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง
การดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการที่เครือข่ายบริการสุขภาพของโรงพยาบาลหนองเสือ 4 แห่ง กลุ่มทดลองจำนวน 29 คนได้รับโปรแกรมการให้การศึกษาในการใช้ยาจำนวน 2 ครั้ง กลุ่มควบคุมจำนวน 29 คนได้รับการดูแลตามปกติจากคลินิกโรคเรื้อรัง วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลด้วยสถิติพรรณนำ และทดสอบสมมติฐานด้วย repeated measure ANOVA, Bonferroni และ independent t-test,
ผลการวิจัย: หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาลดลงจากหลังการทดลองแต่มากกว่าก่อนการทดลอง และไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาดีกว่าก่อนการทดลอง (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ที่ระยะติดตามผล กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความร่วมมือในการใช้ยาไม่ต่างจากหลังการทดลองแต่ดีกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <.05) แต่ไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุม
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้เพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางสุขภาพด้านการใช้ยาและความร่วมมือในการใช้ยาCurricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27049 ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน Original title : Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension Material Type: printed text Authors: ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.63-75 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 [article] ผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ = Impact of a blood pressure regulating programme on health beliefs health behavior amount of sodium intake and hypertension leveld in community members with hypertension : พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน [printed text] / ปิยมนต์ รัตนผ่องใส, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author ; ปาหนัน พิชยภิญโญ, Author . - 2017 . - p.63-75.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.63-75Keywords: โปรแกรมควบคุมความด้นโลหิต. ความเชื่อด้านสุขภาพ. พฤติกรรมสุขภาพ. โรคความดันโลหิตสูง. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ต่อความเชื่อด้านสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ ปริมาณโซเดียมที่ได้รับ และระดับความดันโลหิตของผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่ม วัดผลก่อนและหลังการทดลอง
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 64 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง
34 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ประกอบด้วยการรให้ความรู้โดยใช้วิดีทัศน์ และแบบจำลองจำนวนจานอาหารสุขภาพ พร้อมแจกคู่มือกำรบริโภคอาหารจานเดียวและแผ่นพับเรื่องอาหารแลกเปลี่ยน ร่วมกับการติดตามเยี่ยมบ้าน 3 ครั้ง กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความเชื่อด้านสุขภาพพฤติกรรมสุขภาพเพื่อควบคุมความดันโลหิต และแบบบันทึกการรับประทานอาหารย้อนหลัง 24 ชั่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย paired t-test และ independent t-test
ผลการวิจัย: พบว่า กลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรม มีคะแนนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
กว่าก่อนทดลอง และมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.001) มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น (p<.01) และมีค่ำเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต น้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) รวมถึงมีปริมาณโซเดียมที่ได้รับน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
ข้อเสนอแนะ: นำโปรแกรมควบคุมความดันโลหิต ไปใช้กับผู้เป็นโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อควบคุมโรคและป้องกันกำรเกิดภาวะแทรกซ้อนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27050 ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฟาฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น / อาภาพร เผ่าวัฒนา in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฟาฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น Original title : The effect of computer assist instruction with application of the transtheoretical model on risky sexual behavioral among adolescents Material Type: printed text Authors: อาภาพร เผ่าวัฒนา, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.55-61 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.55-61Keywords: ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ.ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม.วัยรุ่นตอนต้น Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอว เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมความเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 โรงเรียน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 30 คน ระยะเวลาในการศึกษา 6 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน independent t-test และ paired t-test
ผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสมดุลการตัดสินใจ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ สูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001)Curricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26523 [article] ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฟาฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น = The effect of computer assist instruction with application of the transtheoretical model on risky sexual behavioral among adolescents [printed text] / อาภาพร เผ่าวัฒนา, Author ; สุนีย์ ละกำปั่น, Author . - 2017 . - p.55-61.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.55-61Keywords: ผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ.ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม.วัยรุ่นตอนต้น Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอว เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ประยุกต์ใช้ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการป้องกันพฤติกรรมความเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่นตอนต้น กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 2 โรงเรียน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 คนและกลุ่มเปรียบเทียบ 30 คน ระยะเวลาในการศึกษา 6 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน independent t-test และ paired t-test
ผลการวิจัย พบว่า หลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสมดุลการตัดสินใจ การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ สูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value <0.001)Curricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26523