From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
การบริหารจัดการจราจรในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี / ฉัตรชัย นามเสนาะ / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Title : การบริหารจัดการจราจรในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี Original title : Traffic Management in the Areas of Metropolitan Police Bureau According to Good Governance Material Type: printed text Authors: ฉัตรชัย นามเสนาะ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 142 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-18
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การขนส่ง
[LCSH]การบังคับใช้กฎหมาย
[LCSH]จราจร -- การจัดการKeywords: การจราจร, การบังคับใช้กฎหมาย, การขนส่งสาธารณะ Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยนำไปสู่การเกิดปัญหาการจราจรที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการจราจรในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) เพื่อศึกษาปัจจัยแก้ไขปัญหาการจราจรที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการจราจร ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการที่ดี ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 30 คน จากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ปัจจัยสาเหตุสำคัญของการเกิดปัญหาการจราจร คือด้านผู้ขับขี่ยานพาหนะ ที่นิยมการใช้รถส่วนตัวมากกว่าการใช้ขนส่งสาธารณะ ปัจจัยการแก้ไขปัญหาจราจรคือด้านกฎหมายจราจร ต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดและจริงจัง แนวทางการบริหารจัดการที่ดีในการแก้ไขปัญหาการจราจร คือ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชน ในการสอดส่องตรวจตราการบังคับใช้กฎหมายจราจรให้มีความสม่ำเสมอและต่อเนื่อง และงานวิจัยในเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยที่นำไปสู่การเกิดปัญหาการจราจรในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านสภาพของรถ ยานพาหนะ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.38, S.D. = 0.54) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัว ได้แก่ ด้านผู้ขับขี่ยานพาหนะ ด้านสภาพของยานพาหนะ ด้านโครงสร้างถนน และด้านกำลังพลตำรวจจราจร สามารถร่วมกันทำนายการบริหารจัดการในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.582 มีอำนาจทำนายร้อยละ 33.80 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตฐานของการทำนายมีค่า 2.230 ปัจจัยที่แก้ไขปัญหาการจราจรในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านขนส่งสาธารณะ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.30, S.D. = 0.51) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัว ได้แก่ ด้านกฎหมายจราจร ด้านขนส่งสาธารณะ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และด้านงานอาสาจราจร มีตัวแปรทำนาย 2 ตัว คือ ด้านกฎหมายจราจร และด้านการขนส่งสาธารณะ สามารถทำนายการบริหารจัดการ ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดีอย่างมีนัยสำคัญหางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.539 มีอำนาจทำนายร้อยละ 29.00 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 2.174 และการบริหารจัดการที่ดี ในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านหลักการมีส่วนร่วม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.53, S.D. = 0.59) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 6 ตัวได้แก่ ด้านกฎหมาย ด้านหลักความเป็นธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้านความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และด้านหลักความรับผิดชอบ มีตัวแปรทำนาย 5 ตัว คือ ด้านหลักความเป็นธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้านความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และด้านหลักความรับผิดชอบ สามารถทำนายการบริหารจัดการ ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคุณเท่กับ 0.786 มีอำนาจทำนายร้อยละ 61.70 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 2.034
ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาด้านหลักความโปร่งใส เนื่องจากสำนักงานตำรวจมักถูกมองจากสังคมภายนอกว่าเป็นองค์กรที่เอื้อต่อการทุจริตคอร์รัปชั่นCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28275 การบริหารจัดการจราจรในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี = Traffic Management in the Areas of Metropolitan Police Bureau According to Good Governance [printed text] / ฉัตรชัย นามเสนาะ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 142 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-18
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การขนส่ง
[LCSH]การบังคับใช้กฎหมาย
[LCSH]จราจร -- การจัดการKeywords: การจราจร, การบังคับใช้กฎหมาย, การขนส่งสาธารณะ Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยนำไปสู่การเกิดปัญหาการจราจรที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการจราจรในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) เพื่อศึกษาปัจจัยแก้ไขปัญหาการจราจรที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการจราจร ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการที่ดี ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 30 คน จากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ปัจจัยสาเหตุสำคัญของการเกิดปัญหาการจราจร คือด้านผู้ขับขี่ยานพาหนะ ที่นิยมการใช้รถส่วนตัวมากกว่าการใช้ขนส่งสาธารณะ ปัจจัยการแก้ไขปัญหาจราจรคือด้านกฎหมายจราจร ต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดและจริงจัง แนวทางการบริหารจัดการที่ดีในการแก้ไขปัญหาการจราจร คือ ด้านหลักการมีส่วนร่วม ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และชุมชน ในการสอดส่องตรวจตราการบังคับใช้กฎหมายจราจรให้มีความสม่ำเสมอและต่อเนื่อง และงานวิจัยในเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยที่นำไปสู่การเกิดปัญหาการจราจรในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านสภาพของรถ ยานพาหนะ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.38, S.D. = 0.54) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัว ได้แก่ ด้านผู้ขับขี่ยานพาหนะ ด้านสภาพของยานพาหนะ ด้านโครงสร้างถนน และด้านกำลังพลตำรวจจราจร สามารถร่วมกันทำนายการบริหารจัดการในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.582 มีอำนาจทำนายร้อยละ 33.80 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตฐานของการทำนายมีค่า 2.230 ปัจจัยที่แก้ไขปัญหาการจราจรในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านขนส่งสาธารณะ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.30, S.D. = 0.51) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 4 ตัว ได้แก่ ด้านกฎหมายจราจร ด้านขนส่งสาธารณะ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และด้านงานอาสาจราจร มีตัวแปรทำนาย 2 ตัว คือ ด้านกฎหมายจราจร และด้านการขนส่งสาธารณะ สามารถทำนายการบริหารจัดการ ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดีอย่างมีนัยสำคัญหางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.539 มีอำนาจทำนายร้อยละ 29.00 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 2.174 และการบริหารจัดการที่ดี ในภาพรวม พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านหลักการมีส่วนร่วม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.53, S.D. = 0.59) โดยตัวแปรทำนายทั้ง 6 ตัวได้แก่ ด้านกฎหมาย ด้านหลักความเป็นธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้านความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และด้านหลักความรับผิดชอบ มีตัวแปรทำนาย 5 ตัว คือ ด้านหลักความเป็นธรรม ด้านหลักการมีส่วนร่วม ด้านหลักประสิทธิภาพและประสิทธิผล ด้านความโปร่งใส ตรวจสอบได้ และด้านหลักความรับผิดชอบ สามารถทำนายการบริหารจัดการ ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตามแนวทางการบริหารจัดการที่ดี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคุณเท่กับ 0.786 มีอำนาจทำนายร้อยละ 61.70 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 2.034
ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาด้านหลักความโปร่งใส เนื่องจากสำนักงานตำรวจมักถูกมองจากสังคมภายนอกว่าเป็นองค์กรที่เอื้อต่อการทุจริตคอร์รัปชั่นCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28275 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607513 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-18 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607504 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-18 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available