From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. ปัจจัยความสำเร็จการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี / อารยะ ชีสังวรณ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยความสำเร็จการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี Original title : Success Factors of Livable City Sustainable Development of Phanat Nikhom Municipals, Chonburi Province Material Type: printed text Authors: อารยะ ชีสังวรณ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 280 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาเมืองแบบยั่งยืน -- ชลบุรี -- พนัสนิคม
[LCSH]ความสำเร็จKeywords: เมืองน่าอยู่,
การพัฒนาเมืองน่าอยู่,
อย่างยั่งยืนAbstract: วิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพความสำเร็จของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลความสำเร็จของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการปฏิบัติที่ดี ของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม ใช้การวิจัยแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้ให้ข้อมูลหลักการสัมภาษณ์ จำนวน 20 คน และเชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม เก็บข้อมูลจาก เจ้าพนักงานสังกัดเทศบาลพนัสนิคม และประชาชน ในเขตเทศบาลพนัสนิคม จำนวน 361 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุ (Multiple Regression Analysis)
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี มีเป้าหมายชัดเจน ดำเนินการภายใต้เงื่อนไขการยอมรับของทุกฝ่าย มีจิตสำนึกและสืบทอดเจตนารมณ์ในการสร้างความยั่งยืนร่วมกัน การพัฒนาโดยรวมอยู่ในระดับ “ดี” ปัจจัยความสำเร็จของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ประกอบด้วย ปัจจัยด้านมุ่งผลสัมฤทธิ์ ด้านความเป็นพลเมือง ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ด้านการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ด้านการมีส่วนร่วม และ ด้านความร่วมมือ สามารถอธิบายความสำเร็จของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ได้ในระดับ “มาก” โดยปัจจัยทั้ง 8 ด้าน เป็นตัวพยากรณ์ที่ดีที่สุดสามารถพยากรณ์ความเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนได้ร้อยละ 95.60
ข้อเสนอแนวทางการปฏิบัติที่ดีของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ดังนี้ 1) ผู้นำท้องถิ่นควรต้องตระหนักเสมอว่า การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น คือ หัวใจของความเจริญในชุมชน สามารถต่อยอดการพัฒนาเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนได้ 2) การกำหนดนโยบายควรมีเป้าหมายที่ชัดเจน ตอบสนองความต้องการของชาวเมือง และสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้ 3) การกำหนดนโยบายการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ควรคำนึงถึงการบูรณาการองค์ความรู้จากทฤษฎี และประสบการณ์จากชุมชน 4) เทศบาลควรส่งเสริม สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วม สร้างสรรค์นวัตกรรมและสืบทอดเจตนารมณ์การสร้างเมืองให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน ต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28043 SIU THE-T. ปัจจัยความสำเร็จการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี = Success Factors of Livable City Sustainable Development of Phanat Nikhom Municipals, Chonburi Province [printed text] / อารยะ ชีสังวรณ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 280 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาเมืองแบบยั่งยืน -- ชลบุรี -- พนัสนิคม
[LCSH]ความสำเร็จKeywords: เมืองน่าอยู่,
การพัฒนาเมืองน่าอยู่,
อย่างยั่งยืนAbstract: วิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพความสำเร็จของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลความสำเร็จของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม 3) เพื่อนำเสนอแนวทางการปฏิบัติที่ดี ของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม ใช้การวิจัยแบบผสมผสาน เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้ให้ข้อมูลหลักการสัมภาษณ์ จำนวน 20 คน และเชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม เก็บข้อมูลจาก เจ้าพนักงานสังกัดเทศบาลพนัสนิคม และประชาชน ในเขตเทศบาลพนัสนิคม จำนวน 361 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุ (Multiple Regression Analysis)
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนของเทศบาลเมืองพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี มีเป้าหมายชัดเจน ดำเนินการภายใต้เงื่อนไขการยอมรับของทุกฝ่าย มีจิตสำนึกและสืบทอดเจตนารมณ์ในการสร้างความยั่งยืนร่วมกัน การพัฒนาโดยรวมอยู่ในระดับ “ดี” ปัจจัยความสำเร็จของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ประกอบด้วย ปัจจัยด้านมุ่งผลสัมฤทธิ์ ด้านความเป็นพลเมือง ด้านทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ด้านการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ด้านวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี ด้านการมีส่วนร่วม และ ด้านความร่วมมือ สามารถอธิบายความสำเร็จของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ได้ในระดับ “มาก” โดยปัจจัยทั้ง 8 ด้าน เป็นตัวพยากรณ์ที่ดีที่สุดสามารถพยากรณ์ความเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนได้ร้อยละ 95.60
ข้อเสนอแนวทางการปฏิบัติที่ดีของการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ดังนี้ 1) ผู้นำท้องถิ่นควรต้องตระหนักเสมอว่า การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น คือ หัวใจของความเจริญในชุมชน สามารถต่อยอดการพัฒนาเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนได้ 2) การกำหนดนโยบายควรมีเป้าหมายที่ชัดเจน ตอบสนองความต้องการของชาวเมือง และสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้ 3) การกำหนดนโยบายการพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน ควรคำนึงถึงการบูรณาการองค์ความรู้จากทฤษฎี และประสบการณ์จากชุมชน 4) เทศบาลควรส่งเสริม สนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วม สร้างสรรค์นวัตกรรมและสืบทอดเจตนารมณ์การสร้างเมืองให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน ต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28043 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607390 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607388 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available