From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. การประเมินความสำเร็จตามโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา / ศิรพงศ์ โภคินวงศ์หิรัญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การประเมินความสำเร็จตามโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา Original title : Assessing the Success of the Newborn Child care subsidy Program of the Local Government Organization in Chachoengsao Province Material Type: printed text Authors: ศิรพงศ์ โภคินวงศ์หิรัญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xii, 193 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ฉะเชิงเทรา
[LCSH]เงินอุดหนุนKeywords: การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ, เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Abstract: การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 2) เพื่อศึกษาความสำเร็จของสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการ ที่ส่งผลต่อโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบผสานวิธี (Mixed-methods Research) โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยการสุ่มจากผู้ปฏิบัติงาน คือพนักงานท้องถิ่น และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ได้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 400 คน สถิติใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 4 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก 2. ปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก และ ระดับความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 2 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก จากการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ด้านนโยบายของรัฐ (x1), ด้านการบริหาร(x4), ด้านกฎหมาย(x2), ด้านวิถีชีวิต(x3),สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 78 (R = 0.78) และด้านการนำระเบียบไปปฏิบัติ(x8) ด้านการบูรณาการการทำงาน(x10) ด้านการให้ความรู้ความเข้าใจ(x7) ด้านการตรวจสอบโครงการ(x9) และด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ (x6) สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 52 (R = 0.52) ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สมมติฐาน ยอมรับได้
ความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1) ด้านความพึงพอใจของประชาชน คือขั้นตอนเป็นไปตามที่ระเบียบกำหนด ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการแต่ละขั้นตอน ความเป็นธรรมของการบริการ เช่น เรียงตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน แบบฟอร์มมีความชัดเจน และมีตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์มหรือคำร้อง เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ ช่วยแก้ปัญหาได้ และเอาใจใส่ กระตือรือร้น และความพร้อมในการให้บริการ มีช่องทางการรับฟังความคิดเห็นต่อการให้บริการ เช่น ตู้รับฟังความคิดเห็น เว็บไซต์มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการ เช่น แผ่นพับ ป้ายประชาสัมพันธ์ มีสื่อประชาสัมพันธ์/คู่มือและเอกสารให้ความรู้ โดยจัดให้มีสายด่วน ในการสอบถามข้อมูล มีการการแจ้งแผนผังขั้นตอนและผู้ให้บริการ การจัดทำป้ายข้อความ ป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้บริการมีความชัดเจน เข้าใจง่าย มีการใช้วัสดุ อุปกรณ์สำหรับการให้บริการมีความทันสมัย การให้บริการเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ เจ้าหน้าที่ให้บริการต่อผู้รับบริการเหมือนกันทุกราย โดยไม่เลือกปฏิบัติ 2) ด้านการสร้างทุนมนุษย์ที่ยั่งยืน นั้นเป็นการลงทุนในทุนมนุษย์ที่จะช่วยบำรุงรักษาคุณค่าและเพิ่มค่าทุนมนุษย์ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดสรรทรัพยากร และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และความเป็นธรรมในการกระจายรายได้ นโยบายนี้เป็นการสร้างทุนมนุษย์และมีความสำคัญต่อกำลังคนมาก โครงการเกิดผลดีต่อสังคมในด้านการช่วยเพิ่มคุณภาพให้กับทุนมนุษย์ และสามารถประเมินค่าทางเศรษฐกิจด้านต้นทุนได้ในอนาคต ทำให้โครงการนี้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนอย่างมากโดยวัดค่าเป็นตัวเงินไม่ได้เพราะเกิดประโยชน์กับระบบเศรษฐกิจ สังคม ที่มีคุณภาพCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27957 SIU THE-T. การประเมินความสำเร็จตามโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดฉะเชิงเทรา = Assessing the Success of the Newborn Child care subsidy Program of the Local Government Organization in Chachoengsao Province [printed text] / ศิรพงศ์ โภคินวงศ์หิรัญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xii, 193 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- ฉะเชิงเทรา
[LCSH]เงินอุดหนุนKeywords: การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ, เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Abstract: การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด 2) เพื่อศึกษาความสำเร็จของสภาพการปฏิบัติโครงการและปัจจัยเชิงนโยบายโครงการ ที่ส่งผลต่อโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบผสานวิธี (Mixed-methods Research) โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม โดยการสุ่มจากผู้ปฏิบัติงาน คือพนักงานท้องถิ่น และอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) ได้กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 400 คน สถิติใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการปฏิบัติโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 4 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก 2. ปัจจัยเชิงนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 6 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก และ ระดับความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง 2 ด้าน โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก จากการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ด้านนโยบายของรัฐ (x1), ด้านการบริหาร(x4), ด้านกฎหมาย(x2), ด้านวิถีชีวิต(x3),สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 78 (R = 0.78) และด้านการนำระเบียบไปปฏิบัติ(x8) ด้านการบูรณาการการทำงาน(x10) ด้านการให้ความรู้ความเข้าใจ(x7) ด้านการตรวจสอบโครงการ(x9) และด้านการนำนโยบายไปปฏิบัติ (x6) สามารถอธิบายความผันแปรของความสำเร็จในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ได้ร้อยละ 52 (R = 0.52) ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สมมติฐาน ยอมรับได้
ความสำเร็จในการนำนโยบายโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดไปปฏิบัติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1) ด้านความพึงพอใจของประชาชน คือขั้นตอนเป็นไปตามที่ระเบียบกำหนด ความสะดวกรวดเร็วในการให้บริการแต่ละขั้นตอน ความเป็นธรรมของการบริการ เช่น เรียงตามลำดับก่อนหลัง มีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน แบบฟอร์มมีความชัดเจน และมีตัวอย่างการกรอกแบบฟอร์มหรือคำร้อง เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ ช่วยแก้ปัญหาได้ และเอาใจใส่ กระตือรือร้น และความพร้อมในการให้บริการ มีช่องทางการรับฟังความคิดเห็นต่อการให้บริการ เช่น ตู้รับฟังความคิดเห็น เว็บไซต์มีการประชาสัมพันธ์การให้บริการ เช่น แผ่นพับ ป้ายประชาสัมพันธ์ มีสื่อประชาสัมพันธ์/คู่มือและเอกสารให้ความรู้ โดยจัดให้มีสายด่วน ในการสอบถามข้อมูล มีการการแจ้งแผนผังขั้นตอนและผู้ให้บริการ การจัดทำป้ายข้อความ ป้ายประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการให้บริการมีความชัดเจน เข้าใจง่าย มีการใช้วัสดุ อุปกรณ์สำหรับการให้บริการมีความทันสมัย การให้บริการเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด และข้อที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ เจ้าหน้าที่ให้บริการต่อผู้รับบริการเหมือนกันทุกราย โดยไม่เลือกปฏิบัติ 2) ด้านการสร้างทุนมนุษย์ที่ยั่งยืน นั้นเป็นการลงทุนในทุนมนุษย์ที่จะช่วยบำรุงรักษาคุณค่าและเพิ่มค่าทุนมนุษย์ เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดสรรทรัพยากร และเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ และความเป็นธรรมในการกระจายรายได้ นโยบายนี้เป็นการสร้างทุนมนุษย์และมีความสำคัญต่อกำลังคนมาก โครงการเกิดผลดีต่อสังคมในด้านการช่วยเพิ่มคุณภาพให้กับทุนมนุษย์ และสามารถประเมินค่าทางเศรษฐกิจด้านต้นทุนได้ในอนาคต ทำให้โครงการนี้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนอย่างมากโดยวัดค่าเป็นตัวเงินไม่ได้เพราะเกิดประโยชน์กับระบบเศรษฐกิจ สังคม ที่มีคุณภาพCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27957 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607967 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607965 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available