Collection Title: | SIU THE-T | Title : | แนวทางการพัฒนา Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล | Original title : | A Guideline for Development of Smartphone by Mobile Network Providers Affecting the Needs of People in Bangkok Metropolis and the Outskirts of Bangkok | Material Type: | printed text | Authors: | กรรณิการ ฉัตรศรีแก้ว, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2017 | Pagination: | xii, 79 น. | Layout: | ตาราง, ภาพประกอบ | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 | General note: | SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-02
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017. | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]การพัฒนา [LCSH]สมาร์ทโฟน [LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่
| Keywords: | แนวทางพัฒนา Smartphone, ผู้ให้บริการระบบการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ | Abstract: | วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone แต่ละผู้ให้บริการระบบการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งมีแนวทางพัฒนามีผลต่อความต้องการ และการใช้ประโยชน์โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ในระดับที่ต่างกัน 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ แต่ละระบบของผู้ให้บริการ 3) ศึกษาระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งมีแนวทางพัฒนามีผลต่อความต้องการ และการใช้ประโยชน์โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ในระดับที่ต่างกัน 4) ศึกษาเทคนิคการนำเสนอการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphoneของผู้ใช้ แต่ละผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์
เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 5) ศึกษาความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ที่บ่งชี้ถึงแนวทางพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่โทรศัพท์ เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 386 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามผ่าน Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way Analysis of Variance--ANOVA) การเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ LSD และการหาความสัมพันธ์โดยใช้การหาค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า
ลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุ 30-34 ปี มากที่สุด มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง มีรายได้ต่อเดือน มากกว่า 30,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ
พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone คือ มีการใช้ทุกวัน ใช้แต่ละครั้งนาน 1-2 ชม. ช่วงเวลาที่ใช้มากที่สุด เวลา 20.00-22.00 น. ใช้ในที่พักอาศัย มีโทรศัพท์ 1 เครื่อง ใช้ในกิจกรรมความบันเทิง/
ดูหนัง ฟังเพลง และ เหตุผลที่ใช้ คือ ความบันเทิง
ระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ใช้ระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ใช้มากที่สุด คือ ได้แก่ AIS ระบบสัญญาณ 4G ยี่ห้อ Apple ราคามากกว่า 25,000 บาท และอิทธิผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้โทรศัพท์ ได้แก่ ตนเอง
ความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ที่บ่งชี้ถึงแนวทางพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายได้รวดเร็ว รองรับระบบสัญญาณที่ทันสมัยในอนาคต และความสามารถขยาย RAM ได้มาก
การเปรียบเทียบลักษณะของประชากรต่อแนวทางการพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05
การเปรียบเทียบเทคนิคการนำเสนอการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ต่อแนวทางการพัฒนา Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05
ความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ต่อการพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์
เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กัน โดยมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกในบางข้อ ในระดับน้อย ในหัวข้อรูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวก กับสามารถเชื่อมต่อระบบนอกเครือข่ายได้ รูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวกกับออกแบบ Program สั่งงานระบบ Remote Control ได้ และรูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวกกับมีระบบชาร์ตแบบเตอรี่อัตโนมัติ
แนวทางพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone มีระบบรองรับสัญญาณในอนาคตได้ ( = 4.59) อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ มีระบบชาร์ตแบตเตอรี่อัตโนมัติ อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.56) และพัฒนาน้อยที่สุด ได้แก่ ตัวเครื่องกันน้ำระดับลึกได้ดี กับออกแบบ Program สั่งงานระบบ Remote มีระดับมาก ( = 4.33) เท่ากัน | Curricular : | BALA/MTEIL | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27652 |
SIU THE-T. แนวทางการพัฒนา Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนใน กรุงเทพมหานครและปริมณฑล = A Guideline for Development of Smartphone by Mobile Network Providers Affecting the Needs of People in Bangkok Metropolis and the Outskirts of Bangkok [printed text] / กรรณิการ ฉัตรศรีแก้ว, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xii, 79 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม. 500.00 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-02
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017. Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]การพัฒนา [LCSH]สมาร์ทโฟน [LCSH]โทรศัพท์เคลื่อนที่
| Keywords: | แนวทางพัฒนา Smartphone, ผู้ให้บริการระบบการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ | Abstract: | วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone แต่ละผู้ให้บริการระบบการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งมีแนวทางพัฒนามีผลต่อความต้องการ และการใช้ประโยชน์โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ในระดับที่ต่างกัน 2) ศึกษาพฤติกรรมการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ แต่ละระบบของผู้ให้บริการ 3) ศึกษาระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งมีแนวทางพัฒนามีผลต่อความต้องการ และการใช้ประโยชน์โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ในระดับที่ต่างกัน 4) ศึกษาเทคนิคการนำเสนอการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphoneของผู้ใช้ แต่ละผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์
เคลื่อนที่ AIS, TRUE MOVE และ DTAC ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 5) ศึกษาความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ที่บ่งชี้ถึงแนวทางพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนผู้ใช้ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่โทรศัพท์ เคลื่อนที่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 386 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามผ่าน Online สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t test การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนจำแนวทางเดียว (One-way Analysis of Variance--ANOVA) การเปรียบเทียบเชิงซ้อนรายคู่ (multiple-comparison) ของ LSD และการหาความสัมพันธ์โดยใช้การหาค่าสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยพบว่า
ลักษณะประชากรของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย มีอายุ 30-34 ปี มากที่สุด มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี มีอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน/รับจ้าง มีรายได้ต่อเดือน มากกว่า 30,000 บาท และนับถือศาสนาพุทธ
พฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone คือ มีการใช้ทุกวัน ใช้แต่ละครั้งนาน 1-2 ชม. ช่วงเวลาที่ใช้มากที่สุด เวลา 20.00-22.00 น. ใช้ในที่พักอาศัย มีโทรศัพท์ 1 เครื่อง ใช้ในกิจกรรมความบันเทิง/
ดูหนัง ฟังเพลง และ เหตุผลที่ใช้ คือ ความบันเทิง
ระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ใช้ระบบเครือข่ายการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ใช้มากที่สุด คือ ได้แก่ AIS ระบบสัญญาณ 4G ยี่ห้อ Apple ราคามากกว่า 25,000 บาท และอิทธิผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้โทรศัพท์ ได้แก่ ตนเอง
ความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ที่บ่งชี้ถึงแนวทางพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พบว่า สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่ายได้รวดเร็ว รองรับระบบสัญญาณที่ทันสมัยในอนาคต และความสามารถขยาย RAM ได้มาก
การเปรียบเทียบลักษณะของประชากรต่อแนวทางการพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05
การเปรียบเทียบเทคนิคการนำเสนอการใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ต่อแนวทางการพัฒนา Smartphone ของผู้ให้บริการระบบการสื่อสารผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ พบว่า แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติระดับ 0.05
ความต้องการของผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone ต่อการพัฒนาการสื่อสารโทรศัพท์
เคลื่อนที่ ที่มีผลต่อความต้องการของประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กัน โดยมีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกในบางข้อ ในระดับน้อย ในหัวข้อรูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวก กับสามารถเชื่อมต่อระบบนอกเครือข่ายได้ รูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวกกับออกแบบ Program สั่งงานระบบ Remote Control ได้ และรูปแบบ/ขนาด/พกพาได้สะดวกกับมีระบบชาร์ตแบบเตอรี่อัตโนมัติ
แนวทางพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่ Smartphone มีระบบรองรับสัญญาณในอนาคตได้ ( = 4.59) อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ มีระบบชาร์ตแบตเตอรี่อัตโนมัติ อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.56) และพัฒนาน้อยที่สุด ได้แก่ ตัวเครื่องกันน้ำระดับลึกได้ดี กับออกแบบ Program สั่งงานระบบ Remote มีระดับมาก ( = 4.33) เท่ากัน | Curricular : | BALA/MTEIL | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27652 |
|