Collection Title: | SIU THE-T | Title : | ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร | Original title : | Understanding the Violation of Privacy Right of Working People in Bangkok Metropolis using Social Networks: The Case of Facebook | Material Type: | printed text | Authors: | อังคณา สุระอารีย์, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2017 | Pagination: | viii, 57 น. | Layout: | ตาราง, ภาพประกอบ | Size: | 30 ซม. | Price: | 500.00 | General note: | SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017. | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]ละเมิด [LCSH]สิทธิส่วนบุคคล [LCSH]เฟซบุ๊ค
| Keywords: | การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล, พฤติกรรมการใช้ Facebook, วัยทำงาน | Abstract: | Facebook เป็นเครือข่ายสังคม online ที่นิยมสูงสุดทั่วโลกโดยมีลักษณะการใช้เป็นการ post ข้อความ upload รูปภาพหรือ VDO ต่าง ๆ ที่เป็นของตนเองและบุคคลอื่น การถ่ายทอดสด (Live) รวมถึงการ share ข้อมูล รูปภาพหรือ VDO ของผู้ใช้ Facebook รายอื่น ๆ ด้วยลักษณะการใช้งานดังกล่าว ที่อาจจะทำให้เกิดการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และส่งผลกระทบต่อผู้ละเมิดและถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรวัยทำงานของ
ผู้ใช้ Facebook ด้านความเข้าใจสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลวัยทำงานผู้ใช้ Facebook ที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลด้วยการสื่อสารผ่านทาง Facebook ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้ Facebook ของบุคคลวัยทำงานกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 4) ศึกษาความเข้าใจเรื่องการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลวัยทำงานต่อการใช้ Facebook ในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครผู้ใช้ Facebook จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ค่าความน่าเชื่อถือได้ (Reliability Coefficients) เท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และ ANOVA เมื่อพบค่าความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะเปรียบเทียบรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ด้านลักษณะประชากรระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook และด้านเนื้อหาที่ใช้ เรื่องที่ post แตกต่างกัน มีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook โดยผู้วิจัยได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างวัยทำงานเฉพาะในกรุงเทพมหานครเท่านั้น จึงควรเพิ่มการวิจัยในกลุ่มประชากรกลุ่มอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากการใช้งาน Facebook มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในทุก ๆ วัย | Curricular : | GE | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27604 |
SIU THE-T. ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร = Understanding the Violation of Privacy Right of Working People in Bangkok Metropolis using Social Networks: The Case of Facebook [printed text] / อังคณา สุระอารีย์, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 57 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม. 500.00 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017. Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]ละเมิด [LCSH]สิทธิส่วนบุคคล [LCSH]เฟซบุ๊ค
| Keywords: | การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล, พฤติกรรมการใช้ Facebook, วัยทำงาน | Abstract: | Facebook เป็นเครือข่ายสังคม online ที่นิยมสูงสุดทั่วโลกโดยมีลักษณะการใช้เป็นการ post ข้อความ upload รูปภาพหรือ VDO ต่าง ๆ ที่เป็นของตนเองและบุคคลอื่น การถ่ายทอดสด (Live) รวมถึงการ share ข้อมูล รูปภาพหรือ VDO ของผู้ใช้ Facebook รายอื่น ๆ ด้วยลักษณะการใช้งานดังกล่าว ที่อาจจะทำให้เกิดการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และส่งผลกระทบต่อผู้ละเมิดและถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรวัยทำงานของ
ผู้ใช้ Facebook ด้านความเข้าใจสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลวัยทำงานผู้ใช้ Facebook ที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลด้วยการสื่อสารผ่านทาง Facebook ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้ Facebook ของบุคคลวัยทำงานกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 4) ศึกษาความเข้าใจเรื่องการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลวัยทำงานต่อการใช้ Facebook ในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครผู้ใช้ Facebook จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ค่าความน่าเชื่อถือได้ (Reliability Coefficients) เท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และ ANOVA เมื่อพบค่าความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะเปรียบเทียบรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ด้านลักษณะประชากรระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook และด้านเนื้อหาที่ใช้ เรื่องที่ post แตกต่างกัน มีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook โดยผู้วิจัยได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างวัยทำงานเฉพาะในกรุงเทพมหานครเท่านั้น จึงควรเพิ่มการวิจัยในกลุ่มประชากรกลุ่มอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากการใช้งาน Facebook มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในทุก ๆ วัย | Curricular : | GE | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27604 |
|