From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU RS-T. การศึกษาวิจัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ระหว่างรถพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (HFC) กับรถแบตเตอรี่ไฟฟ้า (PEV) / วรวิทย์ บุญวงศ์โสภณ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาวิจัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ระหว่างรถพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (HFC) กับรถแบตเตอรี่ไฟฟ้า (PEV) Original title : (Research Study of the progressive Technology between Hydrogen Fuel Cell (HFC) and Plug in Electric vehicle (PEV)) Material Type: printed text Authors: วรวิทย์ บุญวงศ์โสภณ, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: 50 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พลังงาน -- แง่สิ่งแวดล้อม
[LCSH]รถยนต์ -- การผลิต
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: โตโยต้า มิไรอิ,
เทสล่า โมเดล เอส
เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน,
รถไฟฟ้าแบบปลั๊กอิน,
การปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์Abstract: นับตั้งแต่มีการประดิษฐ์รถยนต์ขึ้นมาใช้คันแรกในปี 1886 รถยนต์นับเป็นปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งในปัจจุบันและยังคงมีความสำคัญต่ออนาคต มีการคิดค้นวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อให้รถยนต์มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการพัฒนาเพื่อให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยลง รวมทั้งลดต้นทุนการผลิต จึงเป็นวัตถุประสงค์หลักของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์และบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต์จะคำนึงถึงนอกเหนือจากผลประกอบการทางด้านธุรกิจ
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีได้จำแนกการพัฒนารถยนต์ในอนาคตออกเป็นหลายแบบตามชนิดของเชื้อเพลิง และหลักการทำงานของรถยนต์นั้นๆ ในการศึกษาวิจัยนี้ ได้ทำการเปรียบเทียบเทคโนโลยีของรถยนต์สองแบบ ได้แก่รถยนต์ที่ผลิตโดยบริษัท โตโยต้า รุ่น มิไร (Mirai) ที่ใช้ระบบเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน (Hydrogen Fuel Cell – HFC) เป็นแหล่งพลังงานและรถที่ผลิตโดยบริษัท เทสล่า รุ่น โมเดล เอส (Tesla Model S)รถไฟฟ้าที่ใช้ระบบแบตเตอรี่(Plug in Electric Vehicle – PEV) เป็นแหล่งพลังงานขับเคลื่อน
ผลการวิจัยพบว่า ในแง่ของเทคโนโลยีแล้ว HFC จะมีหัวข้อที่มีข้อดีมากกว่า PEV แต่สำหรับการใช้งานที่เป็นความจริงในปัจจุบัน รถ HFC คงยังมีปัญหาในเรื่องของการหาเชื้อเพลิงและสถานีบริการไม่ได้เท่ากับรถ PEVCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26575 SIU RS-T. การศึกษาวิจัยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ระหว่างรถพลังงานเซลล์เชื้อเพลิง (HFC) กับรถแบตเตอรี่ไฟฟ้า (PEV) = (Research Study of the progressive Technology between Hydrogen Fuel Cell (HFC) and Plug in Electric vehicle (PEV)) [printed text] / วรวิทย์ บุญวงศ์โสภณ, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - 50 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พลังงาน -- แง่สิ่งแวดล้อม
[LCSH]รถยนต์ -- การผลิต
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยีKeywords: โตโยต้า มิไรอิ,
เทสล่า โมเดล เอส
เซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน,
รถไฟฟ้าแบบปลั๊กอิน,
การปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์Abstract: นับตั้งแต่มีการประดิษฐ์รถยนต์ขึ้นมาใช้คันแรกในปี 1886 รถยนต์นับเป็นปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งในปัจจุบันและยังคงมีความสำคัญต่ออนาคต มีการคิดค้นวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อให้รถยนต์มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีการพัฒนาเพื่อให้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยลง รวมทั้งลดต้นทุนการผลิต จึงเป็นวัตถุประสงค์หลักของบริษัทผู้ผลิตรถยนต์และบริษัทที่ทำธุรกิจเกี่ยวกับยานยนต์จะคำนึงถึงนอกเหนือจากผลประกอบการทางด้านธุรกิจ
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีได้จำแนกการพัฒนารถยนต์ในอนาคตออกเป็นหลายแบบตามชนิดของเชื้อเพลิง และหลักการทำงานของรถยนต์นั้นๆ ในการศึกษาวิจัยนี้ ได้ทำการเปรียบเทียบเทคโนโลยีของรถยนต์สองแบบ ได้แก่รถยนต์ที่ผลิตโดยบริษัท โตโยต้า รุ่น มิไร (Mirai) ที่ใช้ระบบเซลล์เชื้อเพลิงไฮโดรเจน (Hydrogen Fuel Cell – HFC) เป็นแหล่งพลังงานและรถที่ผลิตโดยบริษัท เทสล่า รุ่น โมเดล เอส (Tesla Model S)รถไฟฟ้าที่ใช้ระบบแบตเตอรี่(Plug in Electric Vehicle – PEV) เป็นแหล่งพลังงานขับเคลื่อน
ผลการวิจัยพบว่า ในแง่ของเทคโนโลยีแล้ว HFC จะมีหัวข้อที่มีข้อดีมากกว่า PEV แต่สำหรับการใช้งานที่เป็นความจริงในปัจจุบัน รถ HFC คงยังมีปัญหาในเรื่องของการหาเชื้อเพลิงและสถานีบริการไม่ได้เท่ากับรถ PEVCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26575 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592244 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592269 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-03 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU THE-T. PhD-MIC. การขนส่งอัจฉริยะสำหรับพนักงานอัจฉริยะ (กรณีปัญหาในการรับพนักงาน) / ภราดร คงมณี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : PhD-MIC. การขนส่งอัจฉริยะสำหรับพนักงานอัจฉริยะ (กรณีปัญหาในการรับพนักงาน) Original title : The Smart Transportation for Smart Labor: The Worker Pickup Problems Material Type: printed text Authors: ภราดร คงมณี, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; สุชาย ธนวเสถียร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 99 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01
Thesis. [PhD-MIC [ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อ สารสนเทศและการสื่อสาร]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การขนส่ง
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
[LCSH]ระบบขนส่งอัจฉริยะKeywords: พนักงานอัจฉริยะ,
การขนส่งอัจฉริยะ,
ปัญหาในการรับพนักงาน,
รถบัสอัจฉริยะAbstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและหารูปแบบการสื่อสารผ่านเทคโนโลยีสื่อสังคม หรือ Social Media บนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนโดยการใช้โปรแกรมทดลอง “Where ever” เป็นเครื่องมือในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการเดินทางของพนักงานที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสังคม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้บริการรถรับส่งพนักงานที่โรงงานเป็นผู้จัด ซึ่งจะทำให้พนักงานสามารถติดตามการเดินทางของรถรับส่งและคาดการณ์เวลาที่รถจะมารับยังจุดนัดหมาย ทำให้พนักงานขึ้นรถได้ตามเวลาที่กำหนดโดยใช้เวลาในการรอรถน้อยที่สุด
ผลจากการทดลองโดยใช้กลุ่มตัวอย่างของพนักงานที่ใช้บริการรถรับส่งเป็นประจำจำนวน 360 คน ตามทฤษฎีของ Taro Yamane พบว่าผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ว่าพนักงานสามารถใช้และเข้าถึงสื่อสังคมผ่านโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน มีความต้องการความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการให้บริการรถรับส่งที่ทันสมัย สามารถใช้การพัฒนารูปแบบการสื่อสารบนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน ให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยในการใช้บริการรถรับส่ง เพื่อการเดินทางมาทำงาน
สิ่งที่ได้จากการวิจัยสามารถนำเสนอรูปแบบจำลอง หรือ Model “We Wer” สำหรับพนักงานอัจฉริยะในการเพิ่มประสิทธิภาพและการแก้ปัญหาการให้บริการรถรับส่งโดยมีพนักงานผู้ใช้งานสื่อสังคมที่สามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอุปกรณ์สมัยใหม่ อาทิ สมาร์โฟน แท็บเล็ต เพื่อเข้าถึงการให้บริการรถได้อย่างสะดวกและรวดเร็วCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27963 SIU THE-T. PhD-MIC. การขนส่งอัจฉริยะสำหรับพนักงานอัจฉริยะ (กรณีปัญหาในการรับพนักงาน) = The Smart Transportation for Smart Labor: The Worker Pickup Problems [printed text] / ภราดร คงมณี, Author ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name ; สุชาย ธนวเสถียร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 99 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01
Thesis. [PhD-MIC [ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสื่อ สารสนเทศและการสื่อสาร]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การขนส่ง
[LCSH]รถยนต์ -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี
[LCSH]ระบบขนส่งอัจฉริยะKeywords: พนักงานอัจฉริยะ,
การขนส่งอัจฉริยะ,
ปัญหาในการรับพนักงาน,
รถบัสอัจฉริยะAbstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและหารูปแบบการสื่อสารผ่านเทคโนโลยีสื่อสังคม หรือ Social Media บนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนโดยการใช้โปรแกรมทดลอง “Where ever” เป็นเครื่องมือในการหาความสัมพันธ์ระหว่างการเดินทางของพนักงานที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสังคม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้บริการรถรับส่งพนักงานที่โรงงานเป็นผู้จัด ซึ่งจะทำให้พนักงานสามารถติดตามการเดินทางของรถรับส่งและคาดการณ์เวลาที่รถจะมารับยังจุดนัดหมาย ทำให้พนักงานขึ้นรถได้ตามเวลาที่กำหนดโดยใช้เวลาในการรอรถน้อยที่สุด
ผลจากการทดลองโดยใช้กลุ่มตัวอย่างของพนักงานที่ใช้บริการรถรับส่งเป็นประจำจำนวน 360 คน ตามทฤษฎีของ Taro Yamane พบว่าผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานที่ได้ตั้งไว้ว่าพนักงานสามารถใช้และเข้าถึงสื่อสังคมผ่านโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน มีความต้องการความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการให้บริการรถรับส่งที่ทันสมัย สามารถใช้การพัฒนารูปแบบการสื่อสารบนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟน ให้เกิดความสะดวกและปลอดภัยในการใช้บริการรถรับส่ง เพื่อการเดินทางมาทำงาน
สิ่งที่ได้จากการวิจัยสามารถนำเสนอรูปแบบจำลอง หรือ Model “We Wer” สำหรับพนักงานอัจฉริยะในการเพิ่มประสิทธิภาพและการแก้ปัญหาการให้บริการรถรับส่งโดยมีพนักงานผู้ใช้งานสื่อสังคมที่สามารถใช้เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านอุปกรณ์สมัยใหม่ อาทิ สมาร์โฟน แท็บเล็ต เพื่อเข้าถึงการให้บริการรถได้อย่างสะดวกและรวดเร็วCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27963 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607478 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607477 SIU THE-T: SOLA-PhD-MIC-2019-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available