Collection Title: | SIU THE-T | Title : | ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ | Original title : | Cost Effectiveness in Renewable Energy Investment Supported by Government Electricity Generating Investment System | Material Type: | printed text | Authors: | สุจิตรา ปานพุ่ม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name | Publisher: | กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร | Publication Date: | 2017 | Pagination: | xviii, 305 p. | Layout: | ill, Tables | Size: | 30 cm. | Price: | 500.00 | General note: | SIU THE-T: SOMT-MSMT-2017-01
THE. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017. | Languages : | Thai (tha) | Descriptors: | [LCSH]การลงทุน [LCSH]พลังงานทดแทน
| Keywords: | ความคุ้มทุน,
พลังงานทดแทน,
ระบบการลงทุนผลิตไฟฟ้า | Abstract: | การวิจัยเรื่อง ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐและ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาถึงประเภทและการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ระเบียบและกฎเกณฑ์การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กระทรวงพลังงาน การสนับสนุนจากภาครัฐ นำมาวิเคราะห์ถึงชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ กับทฤษฎีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการพร้อมทั้งสัมภาษณ์ ผู้บริหารและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ
ผลการวิจัย พบว่า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวล ที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนทั้ง 3 ชนิด เนื่องจากนโยบายการรับซื้อพลังงานทดแทนที่รัฐสามารถเลือกกำหนด feed-in tariff ให้มีความสมดุลในด้านการลดค่าใช้จ่ายภาครัฐ และคงความน่าลงทุนในพลังงานทดแทนได้โดยไม่ส่งผลกระทบที่มีนัยสำคัญต่อภาคธุรกิจและผู้บริโภค และไม่มีข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบในการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเมื่อเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ เนื่องจากมีการวิเคราะห์ด้านเทคนิค ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐศาสตร์ และการเงินก่อนการลงทุน แต่พบว่าการประกอบกิจการพลังงานทดแทนมีปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนหลายประการ 1) มีปัญหาด้านต้นทุนการผลิตต่อหน่วยยังอยู่ในระดับค่อนข้างสูง 2) ปัญหาด้านข้อกฎหมาย ประกาศ กฎ ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานทดแทน 3) ปัญหาในขั้นตอนของการบริหารจัดการและการขอใบอนุญาตจำหน่ายไฟฟ้า 4) ปัญหาการจัดโครงสร้างองค์กรด้านพลังงานทดแทนที่มีความสลับซับซ้อนในอำนาจหน้าที่ 5) ข้อจำกัดของระบบสายจำหน่าย 6) การวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนยังไม่เพียงพอ 7) ปัญหาด้านข้อกฎหมายในพื้นที่ที่ตั้งโรงไฟฟ้า 8) ปัญหาด้านการทับซ้อนการทำธุรกิจพลังงาน 9) ปัญหาด้านระบบโคร้างสร้างพื้นฐาน และ 10) ปัญหาการสนับสนุนด้านการเงินในการลงทุนในกิจการพลังงานทดแทน ซึ่งปัญหาเหล่านี้รัฐควรเร่งดำเนินการแก้ไขเพื่อให้พลังงานทดแทนสามารถแข่งขันกับพลังงานจากฟอสซิลได้ในอนาคต | Curricular : | BSMT/MSMT | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27507 |
SIU THE-T. ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ = Cost Effectiveness in Renewable Energy Investment Supported by Government Electricity Generating Investment System [printed text] / สุจิตรา ปานพุ่ม, Author ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xviii, 305 p. : ill, Tables ; 30 cm. 500.00 SIU THE-T: SOMT-MSMT-2017-01
THE. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017. Languages : Thai ( tha) Descriptors: | [LCSH]การลงทุน [LCSH]พลังงานทดแทน
| Keywords: | ความคุ้มทุน,
พลังงานทดแทน,
ระบบการลงทุนผลิตไฟฟ้า | Abstract: | การวิจัยเรื่อง ความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐและ 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประกอบด้วยการศึกษาถึงประเภทและการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ระเบียบและกฎเกณฑ์การรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนของคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน กระทรวงพลังงาน การสนับสนุนจากภาครัฐ นำมาวิเคราะห์ถึงชนิดพลังงานทดแทนที่มีความคุ้มทุนพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ กับทฤษฎีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการพร้อมทั้งสัมภาษณ์ ผู้บริหารและบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ
ผลการวิจัย พบว่า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม และพลังงานชีวมวล ที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ มีความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนทั้ง 3 ชนิด เนื่องจากนโยบายการรับซื้อพลังงานทดแทนที่รัฐสามารถเลือกกำหนด feed-in tariff ให้มีความสมดุลในด้านการลดค่าใช้จ่ายภาครัฐ และคงความน่าลงทุนในพลังงานทดแทนได้โดยไม่ส่งผลกระทบที่มีนัยสำคัญต่อภาคธุรกิจและผู้บริโภค และไม่มีข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบในการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนเมื่อเทียบความคุ้มทุนในการลงทุนพลังงานทดแทนที่ได้รับการสนับสนุนระบบการลงทุนการผลิตไฟฟ้าจากรัฐ เนื่องจากมีการวิเคราะห์ด้านเทคนิค ด้านสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐศาสตร์ และการเงินก่อนการลงทุน แต่พบว่าการประกอบกิจการพลังงานทดแทนมีปัญหาและอุปสรรคในการลงทุนหลายประการ 1) มีปัญหาด้านต้นทุนการผลิตต่อหน่วยยังอยู่ในระดับค่อนข้างสูง 2) ปัญหาด้านข้อกฎหมาย ประกาศ กฎ ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจพลังงานทดแทน 3) ปัญหาในขั้นตอนของการบริหารจัดการและการขอใบอนุญาตจำหน่ายไฟฟ้า 4) ปัญหาการจัดโครงสร้างองค์กรด้านพลังงานทดแทนที่มีความสลับซับซ้อนในอำนาจหน้าที่ 5) ข้อจำกัดของระบบสายจำหน่าย 6) การวิจัยและพัฒนาพลังงานทดแทนยังไม่เพียงพอ 7) ปัญหาด้านข้อกฎหมายในพื้นที่ที่ตั้งโรงไฟฟ้า 8) ปัญหาด้านการทับซ้อนการทำธุรกิจพลังงาน 9) ปัญหาด้านระบบโคร้างสร้างพื้นฐาน และ 10) ปัญหาการสนับสนุนด้านการเงินในการลงทุนในกิจการพลังงานทดแทน ซึ่งปัญหาเหล่านี้รัฐควรเร่งดำเนินการแก้ไขเพื่อให้พลังงานทดแทนสามารถแข่งขันกับพลังงานจากฟอสซิลได้ในอนาคต | Curricular : | BSMT/MSMT | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27507 |
|