From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU THE-T. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม / ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม Original title : Application of Business Model Theories on the Improvement of Government Organization Structure: Case Study of Information and Space Technology Department Material Type: printed text Authors: ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 248 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยราชการ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]องค์การ -- การจัดการKeywords: กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
การปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารจัดการAbstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหานำไปสู่การเสนอแนวทางปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาการบริหารจัดการกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัย ด้านเนื้อหาไว้ที่การปรับโครงสร้างองค์การแบบบริหารธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์การแบบบริหารธุรกิจ ด้านเวลาช่วงเดือน มิ.ย.2558 – ก.ค.2559 ด้านประชากรจำกัดเฉพาะในกลุ่มงานกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องอัตราเฉพาะกิจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ (Interviews) ผู้นำ/ผู้บริหารระดับสูง ทั้งในปัจจุบันและในอดีตของกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมรวม 34 คน
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ในขั้นต้นพบว่า กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม มีหน้าที่ ภารกิจ ระบบงาน และโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกับอีก 7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธี SWOT Analysis ใช้แนวคิด McKinsey 7–S Framework และทฤษฎี PESTEL Analysis ได้ผลสรุปว่า เจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในหารือตามข้อตกลงความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐภายนอกกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งในมิติของความมั่นคง การผนึกกำลังป้องกันประเทศ และการป้องกันเชิงรุก เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินงาน ควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารภายในของกิจการอวกาศ โดยแยกงานกองกิจการอวกาศออกเป็นหน่วยงานใหม่และยกระดับขึ้นเป็นสำนักงานกิจการอวกาศ เพื่อเพิ่มอำนาจการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในส่วนระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้างควรปรับเปลี่ยนประเด็นความรับผิดชอบในการรายงาน/ชี้แจงผลการบริหารราชการ (Line of Authority and Accountability) รองรับโครงสร้างแบบกลุ่มงาน ที่ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มงานเป็นเจ้าภาพหลัก หรือ Single Manager รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล รายงานผลการปฏิบัติ และสามารถสั่งการต่อทุกหน่วยได้ตามอำนาจหน้าที่ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรค่านิยมในเรื่องเส้นทางในสายอาชีพของบุคคลากร พัฒนาการผู้บริหารระดับสูง – กลางให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรมความคิด ปฏิรูประบบบริหารจัดการและพัฒนากำลังพลในกรม ทั้งระบบการคัดเลือก บรรจุ เลื่อนขั้น/ยศ หรือปรับย้าย บุคลากร
การบริหารจัดการและโครงสร้างอาจต้องปรับรูปแบบ กลายเป็นองค์กรใหม่ที่อาจเรียกว่า “องค์กรเอกชนในกองทัพ” ในลักษณะ 1 เป็นผู้บริหารจัดการดาวเทียมการสื่อสารและดาวเทียมภาพถ่ายเพื่อความมั่นคง 2 มีสภาพการจ้างงานแบบเอกชน ซึ่งสามารถจ้างบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือเชี่ยวชาญพิเศษได้ในสภาพการจ้างที่สูงกว่าระเบียบราชการ หาเงินสนับสนุนการทำงาน โดยเฉพาะเงินทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ที่ใช้การขอทุนจากภาคเอกชนสนับสนุนโดยตรง ไม่ต้องผ่านระเบียบราชการ 3 ปรับโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนตามสภาพงานที่แท้จริง ไม่ซ้ำซ้อน และ 4 เป็นศูนย์บัญชาการไซเบอร์กระทรวงกลาโหมCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26565 SIU THE-T. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม = Application of Business Model Theories on the Improvement of Government Organization Structure: Case Study of Information and Space Technology Department [printed text] / ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 248 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยราชการ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]องค์การ -- การจัดการKeywords: กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
การปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารจัดการAbstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหานำไปสู่การเสนอแนวทางปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาการบริหารจัดการกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัย ด้านเนื้อหาไว้ที่การปรับโครงสร้างองค์การแบบบริหารธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์การแบบบริหารธุรกิจ ด้านเวลาช่วงเดือน มิ.ย.2558 – ก.ค.2559 ด้านประชากรจำกัดเฉพาะในกลุ่มงานกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องอัตราเฉพาะกิจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ (Interviews) ผู้นำ/ผู้บริหารระดับสูง ทั้งในปัจจุบันและในอดีตของกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมรวม 34 คน
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ในขั้นต้นพบว่า กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม มีหน้าที่ ภารกิจ ระบบงาน และโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกับอีก 7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธี SWOT Analysis ใช้แนวคิด McKinsey 7–S Framework และทฤษฎี PESTEL Analysis ได้ผลสรุปว่า เจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในหารือตามข้อตกลงความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐภายนอกกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งในมิติของความมั่นคง การผนึกกำลังป้องกันประเทศ และการป้องกันเชิงรุก เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินงาน ควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารภายในของกิจการอวกาศ โดยแยกงานกองกิจการอวกาศออกเป็นหน่วยงานใหม่และยกระดับขึ้นเป็นสำนักงานกิจการอวกาศ เพื่อเพิ่มอำนาจการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในส่วนระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้างควรปรับเปลี่ยนประเด็นความรับผิดชอบในการรายงาน/ชี้แจงผลการบริหารราชการ (Line of Authority and Accountability) รองรับโครงสร้างแบบกลุ่มงาน ที่ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มงานเป็นเจ้าภาพหลัก หรือ Single Manager รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล รายงานผลการปฏิบัติ และสามารถสั่งการต่อทุกหน่วยได้ตามอำนาจหน้าที่ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรค่านิยมในเรื่องเส้นทางในสายอาชีพของบุคคลากร พัฒนาการผู้บริหารระดับสูง – กลางให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรมความคิด ปฏิรูประบบบริหารจัดการและพัฒนากำลังพลในกรม ทั้งระบบการคัดเลือก บรรจุ เลื่อนขั้น/ยศ หรือปรับย้าย บุคลากร
การบริหารจัดการและโครงสร้างอาจต้องปรับรูปแบบ กลายเป็นองค์กรใหม่ที่อาจเรียกว่า “องค์กรเอกชนในกองทัพ” ในลักษณะ 1 เป็นผู้บริหารจัดการดาวเทียมการสื่อสารและดาวเทียมภาพถ่ายเพื่อความมั่นคง 2 มีสภาพการจ้างงานแบบเอกชน ซึ่งสามารถจ้างบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือเชี่ยวชาญพิเศษได้ในสภาพการจ้างที่สูงกว่าระเบียบราชการ หาเงินสนับสนุนการทำงาน โดยเฉพาะเงินทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ที่ใช้การขอทุนจากภาคเอกชนสนับสนุนโดยตรง ไม่ต้องผ่านระเบียบราชการ 3 ปรับโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนตามสภาพงานที่แท้จริง ไม่ซ้ำซ้อน และ 4 เป็นศูนย์บัญชาการไซเบอร์กระทรวงกลาโหมCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26565 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592152 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592160 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available