[article] Title : | ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า | Original title : | The effect of the problem solving therapy program on depression of patients with major depressivedioo | Material Type: | printed text | Authors: | ธวัชชัย พละศักดิ์, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author | Publication Date: | 2017 | Article on page: | p.60-74 | Languages : | Thai (tha) Original Language : Thai (tha) | in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.60-74Keywords: | การบำบัดโดยการแก้ปัญหา. ภาวะซึมเศร้า. โรคซึมเศร้า.roblem solving therapy. Depression. Major Depressive Disorder. | Abstract: | วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา และเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จำนวน 40 คน จับคู่ตามลักษณะที่คล้ายกัน ได้แก่ เพศ รายได้ และระดับภาวะซึมเศร้า แล้วสุ่มแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3)แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 4) แบบสำรวจการแก้ปัญหา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ค่าความเที่ยงของแบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบสำรวจการแก้ปัญหา เท่ากับ .75 และ .78 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test)
ผลการศึกษา:
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา น้อยกว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาสามารถทำให้ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าลดลงได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าน้อยและปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Objective: The purpose of this experimental research were to compare depression of patient with major depressive disorder before and after receiving the problem solving therapy program; and to compare depression between the patients who received the problem solving therapy program and who received the routine nursing care.
Methods: A sample of 40 patients with major depressive disorder was received treatment at the out patients of Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital. Matched pair characteristics of gender personal and levels of depression income were randomly assigned into the experimental and the control group. The research instruments were 1) Problem Solving Therapy Program 2) Personal data questionnaire 3) Beck Depression Inventory 4) Problem Solving Inventory. These instruments were tested for content validity by five professional experts. The reliability of Beck Depression Inventory and Problem Solving Inventoy was .75 and .78. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t - test.
Results:
1. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than before at the level of .05.
2. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than those who received routine nursing care at the level of .05.
Conclusion: Problem Solving Therapy Program can reduce level of depression in patients with mild and moderate major depressive disorder.
| Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27472 |
[article] ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า = The effect of the problem solving therapy program on depression of patients with major depressivedioo [printed text] / ธวัชชัย พละศักดิ์, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author . - 2017 . - p.60-74. Languages : Thai ( tha) Original Language : Thai ( tha) in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.60-74Keywords: | การบำบัดโดยการแก้ปัญหา. ภาวะซึมเศร้า. โรคซึมเศร้า.roblem solving therapy. Depression. Major Depressive Disorder. | Abstract: | วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา และเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จำนวน 40 คน จับคู่ตามลักษณะที่คล้ายกัน ได้แก่ เพศ รายได้ และระดับภาวะซึมเศร้า แล้วสุ่มแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3)แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 4) แบบสำรวจการแก้ปัญหา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ค่าความเที่ยงของแบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบสำรวจการแก้ปัญหา เท่ากับ .75 และ .78 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test)
ผลการศึกษา:
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา น้อยกว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาสามารถทำให้ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าลดลงได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าน้อยและปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Objective: The purpose of this experimental research were to compare depression of patient with major depressive disorder before and after receiving the problem solving therapy program; and to compare depression between the patients who received the problem solving therapy program and who received the routine nursing care.
Methods: A sample of 40 patients with major depressive disorder was received treatment at the out patients of Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital. Matched pair characteristics of gender personal and levels of depression income were randomly assigned into the experimental and the control group. The research instruments were 1) Problem Solving Therapy Program 2) Personal data questionnaire 3) Beck Depression Inventory 4) Problem Solving Inventory. These instruments were tested for content validity by five professional experts. The reliability of Beck Depression Inventory and Problem Solving Inventoy was .75 and .78. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t - test.
Results:
1. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than before at the level of .05.
2. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than those who received routine nursing care at the level of .05.
Conclusion: Problem Solving Therapy Program can reduce level of depression in patients with mild and moderate major depressive disorder.
| Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27472 |
| |