[article] Title : | การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้า : ด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยค | Original title : | Development of prevention model for depressive disorder by buddhist group conseling an yoga | Material Type: | printed text | Authors: | สุริยะ จงแพ, Author ; สุณี ฉิมพิบูลย์, Author ; นภสร แก้วนิลกุล, Author ; มุนา วงศาโรจน์, Author ; พัชรี รัตนาพรพิทักษ์, Author ; ศิริเพ็ญ แก้วประดิษฐ์, Author | Publication Date: | 2017 | Article on page: | p.66-79 | Languages : | Thai (tha) Original Language : Thai (tha) | in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.66-79Keywords: | Group counseling. Buddhism. yoga. depressive disorder. การให้การปรึกษาแบบกลุ่ม. พุทธศาสนา. โยคะ. โรคซึมเศร้า. | Abstract: | วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะ และประเมินผลการนำรูปแบบไปใช้
วิธีการศึกษา:ดำเนินการตามรูปแบบของโครงการพัฒนาการวิจัยสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการ และการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ผลการพัฒนาพบว่ามีงานวิจัยที่นำมาศึกษา 12 เรื่อง สรุปได้เป็นรูปแบบการให้การปรึกษาแนวพุทธธรรมแบบกลุ่มปิด ร่วมกับอาสนะโยคะใช้เวลาบำบัด 3 ครั้งๆ ละ 120 นาที ผู้บำบัดเป็นพยาบาลและจิตอาสา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีภาวะซึมเศร้า และผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชนจำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยการแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ
ผลการศึกษา: หลังได้รับการบำบัดกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับการบำบัด
สรุป: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะสามารถลดภาวะซึมเศร้าของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้
Abstract
Objectives: To develop the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga and evaluate the model implementation.
Methods: The model based on capstone project and routine to research. A total of 12 research studies were selected in this study. Major findings regarding developed Buddhist close group counseling and yoga. There are three activities, each lasting 120 minutes by nurses and volunteer. The sample included ten persons with depression and depressive disorder in the community. Data were analyzed by descriptive statistics.
Results: The score of Beck Depression Inventory (BDI) decreased after receiving intervention.
Conclusion: Results from this study revealed that the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga can decrease depression of persons with depression and depressive disorder. | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27373 |
[article] การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้า = Development of prevention model for depressive disorder by buddhist group conseling an yoga : ด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยค [printed text] / สุริยะ จงแพ, Author ; สุณี ฉิมพิบูลย์, Author ; นภสร แก้วนิลกุล, Author ; มุนา วงศาโรจน์, Author ; พัชรี รัตนาพรพิทักษ์, Author ; ศิริเพ็ญ แก้วประดิษฐ์, Author . - 2017 . - p.66-79. Languages : Thai ( tha) Original Language : Thai ( tha) in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.3 (Sep-Oct) 2559/2016 [10/17/2017] . - p.66-79Keywords: | Group counseling. Buddhism. yoga. depressive disorder. การให้การปรึกษาแบบกลุ่ม. พุทธศาสนา. โยคะ. โรคซึมเศร้า. | Abstract: | วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะ และประเมินผลการนำรูปแบบไปใช้
วิธีการศึกษา:ดำเนินการตามรูปแบบของโครงการพัฒนาการวิจัยสู่การปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการ และการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ผลการพัฒนาพบว่ามีงานวิจัยที่นำมาศึกษา 12 เรื่อง สรุปได้เป็นรูปแบบการให้การปรึกษาแนวพุทธธรรมแบบกลุ่มปิด ร่วมกับอาสนะโยคะใช้เวลาบำบัด 3 ครั้งๆ ละ 120 นาที ผู้บำบัดเป็นพยาบาลและจิตอาสา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีภาวะซึมเศร้า และผู้ป่วยโรคซึมเศร้าในชุมชนจำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยการแจกแจงความถี่ และค่าร้อยละ
ผลการศึกษา: หลังได้รับการบำบัดกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าต่ำกว่าก่อนได้รับการบำบัด
สรุป: ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันโรคซึมเศร้าด้วยการให้การปรึกษาแบบกลุ่มแนวพุทธธรรมและโยคะสามารถลดภาวะซึมเศร้าของผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าและผู้ป่วยโรคซึมเศร้าได้
Abstract
Objectives: To develop the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga and evaluate the model implementation.
Methods: The model based on capstone project and routine to research. A total of 12 research studies were selected in this study. Major findings regarding developed Buddhist close group counseling and yoga. There are three activities, each lasting 120 minutes by nurses and volunteer. The sample included ten persons with depression and depressive disorder in the community. Data were analyzed by descriptive statistics.
Results: The score of Beck Depression Inventory (BDI) decreased after receiving intervention.
Conclusion: Results from this study revealed that the model of prevention for depressive disorder by Buddhist group counseling and yoga can decrease depression of persons with depression and depressive disorder. | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27373 |
| |