[article] Title : | นวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบที่ได้รับ : ยาพ่อนแบบฝอยละออง ดยมีครอบครัว เป็นศูนย์กลาง:กรณีศึกษา | Material Type: | printed text | Authors: | สุจิตรา เอิบอาบ, Author | Publication Date: | 2017 | Article on page: | p.5-16. | Languages : | Thai (tha) Original Language : Thai (tha) | in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.5-16.Keywords: | การพ่นยาแบบฝอยละออง. การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง. ผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ นวัตกรรมการพยาบาล. | Abstract: | โรคปอดอักเสบ เป็นโรคติดเชื้อระบบหายใจส่วนล่างที่พบมากที่สุดในเด็กแรกเกิด
ถึงอายุห้าปีในประเทศไทย การบริหารยาโดยการพ่นยาแบบฝอยละอองเป็นวิธีการรักษา
ที่ใช้บ่อย เพื่อลดการหดเกร็งของหลอดลม การใช้หลักครอบครัวเป็นศูนย์กลางมีบทบาท
สำคัญในการเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ครอบคลุมทุกมิติ โดยเฉพาะทั้งด้านร่างกาย
จิตใจ และจิตสังคม บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอนวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนา
คุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบได้รับยาพ่นแบบฝอยละอองที่ประยุกต์ใช้รูปแบบ
การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ผ่านการนำเสนอกรณีศึกษา ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์
การดูแลให้เหมาะสมกับครอบครัวเป็นรายกรณี โดยตระหนักถึงความเข้มแข็งของครอบครัว
ความแตกต่างของแต่ละครอบครัว ความเป็นปัจเจกบุคคล และต้องการการสนับสนุนความ
ร่วมมือในการดูแล นำลงสู่การปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ 1) การเสริมสร้างพลังความเข้มแข็ง
แลกเปลี่ยนข้อมูล และวางแผนร่วมกัน 2) การดูแลร่วมกัน 3) ครอบครัวเป็นผู้นำและ
กำกับการดูแลด้วยตนเอง และ 4) การประเมินผลการดูแล ผลการนำโครงการนวัตกรรม
การพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพดูแล โดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลางผ่านกรณีศึกษา ลงสู่
การปฏิบัติพยาบาลพบว่า ครอบครัวมีความรู้ ทักษะ การมีส่วนร่วม และความพึงพอใจใน
การบริการสูงขึ้น ผู้ป่วยเด็กให้ความร่วมมือดีขึ้นและมากขึ้น และการตอบสนองด้านการหายใจ
ดีขึ้น
Abstract
Pneumonia is a lower respiratory tract infectious disease most commonly found in Thai infants and children aged up to 5 years. One of the most commonly prescribed medications is a small-volume nebuliser, which relieves bronchospasm. In addition to medication, family-centred care plays an important role in enhancing multi-dimensional care quality for this group of patients, responding to their physical, psychological and psychosocial needs.
This article aims at presenting a nursing innovation designed to enhance caregiving quality for child pneumonia patients treated with a small-volume nebuliser. By applying the family-centred care approach, this case study adjusted caregiving strategies to ft
individual patients’ needs, taking 4 main factors into onsideration, namely, each family’s strength, differences between families, individualism and needs for caregiving cooperation support. The study was conducted in 4 steps, which may be abbreviated as EFFE: (1) Empowerment; (2) Family-professional collaboration and participation; (3) Family as a leader and for self-monitoring; and (4) Evaluation of the caregiving method. The trial revealed a signifcant increase in the patients’ families’ knowledge,
skills, participation and satisfaction in response to this innovative family-centred caregiving model. In addition, the child patients cooperated better and more willingly, and displayed improved respiratory response
| Link for e-copy: | http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27294 |
[article] นวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบที่ได้รับ : ยาพ่อนแบบฝอยละออง ดยมีครอบครัว เป็นศูนย์กลาง:กรณีศึกษา [printed text] / สุจิตรา เอิบอาบ, Author . - 2017 . - p.5-16. Languages : Thai ( tha) Original Language : Thai ( tha) in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.5-16.Keywords: | การพ่นยาแบบฝอยละออง. การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง. ผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ นวัตกรรมการพยาบาล. | Abstract: | โรคปอดอักเสบ เป็นโรคติดเชื้อระบบหายใจส่วนล่างที่พบมากที่สุดในเด็กแรกเกิด
ถึงอายุห้าปีในประเทศไทย การบริหารยาโดยการพ่นยาแบบฝอยละอองเป็นวิธีการรักษา
ที่ใช้บ่อย เพื่อลดการหดเกร็งของหลอดลม การใช้หลักครอบครัวเป็นศูนย์กลางมีบทบาท
สำคัญในการเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ครอบคลุมทุกมิติ โดยเฉพาะทั้งด้านร่างกาย
จิตใจ และจิตสังคม บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอนวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนา
คุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบได้รับยาพ่นแบบฝอยละอองที่ประยุกต์ใช้รูปแบบ
การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ผ่านการนำเสนอกรณีศึกษา ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์
การดูแลให้เหมาะสมกับครอบครัวเป็นรายกรณี โดยตระหนักถึงความเข้มแข็งของครอบครัว
ความแตกต่างของแต่ละครอบครัว ความเป็นปัจเจกบุคคล และต้องการการสนับสนุนความ
ร่วมมือในการดูแล นำลงสู่การปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ 1) การเสริมสร้างพลังความเข้มแข็ง
แลกเปลี่ยนข้อมูล และวางแผนร่วมกัน 2) การดูแลร่วมกัน 3) ครอบครัวเป็นผู้นำและ
กำกับการดูแลด้วยตนเอง และ 4) การประเมินผลการดูแล ผลการนำโครงการนวัตกรรม
การพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพดูแล โดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลางผ่านกรณีศึกษา ลงสู่
การปฏิบัติพยาบาลพบว่า ครอบครัวมีความรู้ ทักษะ การมีส่วนร่วม และความพึงพอใจใน
การบริการสูงขึ้น ผู้ป่วยเด็กให้ความร่วมมือดีขึ้นและมากขึ้น และการตอบสนองด้านการหายใจ
ดีขึ้น
Abstract
Pneumonia is a lower respiratory tract infectious disease most commonly found in Thai infants and children aged up to 5 years. One of the most commonly prescribed medications is a small-volume nebuliser, which relieves bronchospasm. In addition to medication, family-centred care plays an important role in enhancing multi-dimensional care quality for this group of patients, responding to their physical, psychological and psychosocial needs.
This article aims at presenting a nursing innovation designed to enhance caregiving quality for child pneumonia patients treated with a small-volume nebuliser. By applying the family-centred care approach, this case study adjusted caregiving strategies to ft
individual patients’ needs, taking 4 main factors into onsideration, namely, each family’s strength, differences between families, individualism and needs for caregiving cooperation support. The study was conducted in 4 steps, which may be abbreviated as EFFE: (1) Empowerment; (2) Family-professional collaboration and participation; (3) Family as a leader and for self-monitoring; and (4) Evaluation of the caregiving method. The trial revealed a signifcant increase in the patients’ families’ knowledge,
skills, participation and satisfaction in response to this innovative family-centred caregiving model. In addition, the child patients cooperated better and more willingly, and displayed improved respiratory response
| Link for e-copy: | http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC | Record link: | http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27294 |
| |